สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1917พ.ศ. 1927พระบรมธาตุพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัววิหารสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมสมเด็จพระเจ้าปราสาททองสังฆราชอาณาจักรอยุธยาอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาครุฑคามวาสีปรางค์ป่าหิมพานต์เจดีย์เขาพระสุเมรุ
- วัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. 1917
ทธศักราช 1917 ใกล้เคียงกั.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และพ.ศ. 1917
พ.ศ. 1927
ทธศักราช 1927 ใกล้เคียงกั.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และพ.ศ. 1927
พระบรมธาตุ
ระบรมธาตุ อาจหมายถึง.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และพระบรมธาตุ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
วิหาร
วิหาร คืออาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคล้ายเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า คู่กับอุโบสถ แต่ไม่มีวิสุงคามเหมือนพระอุโบสถ คำว่า วิหาร แต่เดิมใช้ในความหมายว่า วัด เช่นเดียวกับคำว่า อาราม อาวาส เช่น เวฬุวัน วิหาร เชตวันมหาวิหาร วิหารมีหลายแบบ เช่น.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และวิหาร
สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
มเด็จพระเจ้าทรงธรรม หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 1 หรือ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงธรรม หรือ สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงธรรมอันมหาประเสริฐ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 21 แห่งกรุงศรีอยุธยา และเป็นพระองค์ที่ 5 แห่งราชวงศ์สุโขทัย หลังจากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สำเร็จโทษพระมหากษัตริย์องค์ก่อนแล้ว พระศรีศิลป์หรือพระพิมลธรรม หรือพระเจ้าทรงธรรมก็เสด็จปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัต.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม
สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
มเด็จพระเจ้าปราสาททอง (ครองราชย์ พ.ศ. 2172 - 2199) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 24 แห่งอาณาจักรอยุธยา และทรงเป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ปราสาททอง.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
สังฆราช
ังฆราช คือพระมหาเถระผู้เป็นใหญ่สูงสุดในสังฆมณฑล ในแต่ละประเทศ เช่น ประเทศพม่า ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา มักมีพระสังฆราชเป็นของตน พระสังฆราชอาจเป็นประมุขเฉพาะคณะสงฆ์นิกายหนึ่งหรือเป็นประมุขคณะสงฆ์ทั้งปวงทุกนิกายในประเทศนั้น (ซึ่งเรียกว่าสกลมหาสังฆปริณายก) คำว่า สังฆราช เป็นคำสมาสจากคำว่า สงฺฆ (พระสงฆ์) + ราช (พระราชา) ซึ่งแปลว่า พระราชาแห่งคณะสง.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และสังฆราช
อาณาจักรอยุธยา
ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และอาณาจักรอยุธยา
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ได้รับการพิจารณาเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
ครุฑ
รุฑยุดนาคปูนปั้นปิดทอง ประดับรอบพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ครุฑ (गरुड) เป็นสัตว์กึ่งเทพในปกรณัมอินเดียและปรากฏในวรรณคดีสำคัญหลายเรื่อง เช่น มหากาพย์ มหาภารตะ เล่าว่า ครุฑเป็นพี่น้องกับนาคและทะเลาะกันจนเป็นศัตรู นอกจากนี้ ยังมีคัมภีร์ปุราณะที่ชื่อว่า ครุฑปุราณะ เป็นเรื่องเล่าพญาครุฑ ตามคติไทยโบราณ เชื่อว่าครุฑเป็นพญาแห่งนกทั้งมวล และเป็นพาหนะของพระนารายณ์ ปกติอาศัยอยู่ที่วิมานฉิมพลี มีรูปเป็นครึ่งคนครึ่งนกอินทรี ได้รับพรให้เป็นอมตะ ไม่มีอาวุธใดทำลายลงได้ แม้กระทั่งสายฟ้าของพระอินทร์ก็ได้แต่เพียงทำให้ขนของครุฑหลุดร่วงลงมาเพียงเส้นหนึ่งเท่านั้น ด้วยเหตุนี้ ครุฑจึงมีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า "สุบรรณ" ซึ่งหมายถึง "ขนวิเศษ" ครุฑเป็นสัตว์ใหญ่ มีอานุภาพและพละกำลังมหาศาล แข็งแรง บินได้รวดเร็ว มีสติปัญญาเฉียบแหลม อ่อนน้อมถ่อมตน และมีสัมมาคารวะ ครุฑพอจะแบ่งได้ 5 ประเภทคือ.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และครุฑ
คามวาสี
มวาสี (อ่านว่า คา-มะ-วา-สี) แปลว่า ผู้อยู่ในหมู่บ้าน, ผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้าน หมายถึงภิกษุที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมือง มีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางคันถธุระ คือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่ธรรม และการก่อสร้างปฏิสังขรณ์วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ้าน พระเมือง ซึ่งเป็นคู่กับคำว่า อรัญวาสี คือ พระป่า คามวาสีถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป เพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน ทั้งพระสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย และพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิก.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และคามวาสี
ปรางค์
นครวัด กัมพูชา ปรางค์ หรือ พระปรางค์ เป็นสิ่งก่อสร้างประเภทหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมไทย เป็นหลักประธานในวัดเช่นเดียวกับพระเจดีย์ แต่เดิมถือว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมที่มีรูปแบบลักษณะเฉพาะของขอม โดยมีคติความเชื่อในศาสนาฮินดู ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเขาพระสุเมร.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และปรางค์
ป่าหิมพานต์
กินรีและนาค หนึ่งในสัตว์หิมพานต์ ป่าหิมพานต์ หรือ หิมวันต์ เป็นป่าในวรรณคดีและความเชื่อในเรื่องไตรภูมิตามคติศาสนาพุทธและฮินดู มีความเชื่อว่า ป่าหิมพานต์ตั้งอยู่บนเชิงเขาพระสุเมรุ ป่าหิมพานต์มีเนื้อที่ประมาณ 3,000 โยชน์ (1 โยชน์ เท่ากับ 10 ไมล์ หรือ 16 กิโลเมตร) วัดโดยรอบได้ 9,000 โยชน์ ประดับด้วยยอด 84,000 ยอด มีสระใหญ่ 7 สระคือ.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และป่าหิมพานต์
เจดีย์
ระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เจดีย์ (ภาษาบาลี: เจติย, ภาษาสันสกฤต: ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี: ถูป, ภาษาสันสกฤต: สฺตูป) เป็นสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย เจดีย์ หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์ สำหรับประเทศไทย คำว่า สถูป และ เจดีย์ เรามักรวมเรียกว่า “สถูปเจดีย์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ หรือเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคงมีการสร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพบูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้ว.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และเจดีย์
เขาพระสุเมรุ
ตรกรรมฝาผนัง เขาพระสุเมรุ เขาพระสุเมรุ ตามคติในศาสนาพราหมณ์ ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน คือภูเขาที่เป็นศูนย์กลางของโลกหรือจักรวาล เป็นที่อยู่ของสิ่งมีวิญญาณในภพและภูมิต่าง ๆ ของสัตวโลก โดยมีปลาอานนท์หนุนอยู่ รอบๆ เขาพระสุเมรุ เขาพระสุเมรุตั้งอยู่เหนือน้ำ 84,000 โยชน์ มีภูเขารองรับ 3 ลูก โดยส่วนฐานคือ ตรีกูฏ (สามเส้าหรือสามยอด) มีภูเขาล้อมรอบ 7 ทิว เรียกว่าสัตบริภัณฑ์ คือ ยุคนธร กรวิก อิสินธร สุทัศ เนมินธร วินตกและอัสกัณ มีเทวดาจตุมหาราชิก และบริวารสถิตอยู่ ภายในจักรวาลมีภูเขาชื่อ หิมวา (หิมาลัย) ของจักรวาลทั้งหมด เป็นเทือกเขายาวติดกัน เป็นพืด เรียกว่าเขาจักรวาล โดยแต่ละจักรวาลมีพระอาทิตย์ พระจันทร์ ดาวดึงส์ ยังมีมหาทวีปทั้ง 4 คือ.
ดู วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)และเขาพระสุเมรุ
ดูเพิ่มเติม
วัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- วัดกุฎีดาว
- วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร
- วัดพนัญเชิงวรวิหาร
- วัดพระศรีสรรเพชญ์
- วัดพุทไธศวรรย์
- วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
- วัดราชบูรณะ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
- วัดหน้าพระเมรุ
- วัดใหญ่ชัยมงคล
- วัดไชยวัฒนาราม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา