สารบัญ
18 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2470พ.ศ. 2516พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พระบรมสารีริกธาตุพระมหากัสสปะพระตำหนักดอยตุงกรมศิลปากรกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)กุนวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหารอำเภอแม่สายอำเภอแม่จันจังหวัดเชียงรายธันวาคมครูบาศรีวิชัยตุงไทยวน
พ.ศ. 2470
ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพ.ศ. 2470
พ.ศ. 2516
ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพ.ศ. 2516
พ.ศ. 2549
ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพ.ศ. 2550
พระบรมสารีริกธาตุ
ระบรมสารีริกธาตุ สัณฐานเมล็ดข้าวสาร พระบรมสารีริกธาตุ (शरीर; Śarīra) เรียกโดยย่อว่าพระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้คงเหลือไว้หลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุที่ไม่แตกกระจาย และที่แตกกระจาย มีขนาดเล็กสุดประมาณเมล็ดพันธุ์ผักกาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุเป็นวัตถุแทนองค์พระบรมศาสดาที่ทรงคุณค่าสูงสุดในศาสนาพุทธ จึงนิยมกระทำการบูชาองค์พระบรมสารีริกธาตุโดยประการต่าง ๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระธาตุไว้สักการะ โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระทำการบูชาแด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ทั้งนี้ คำว่า "พระบรมสารีริกธาตุ" เป็นศัพท์เฉพาะใช้เรียกเฉพาะพระธาตุของพระพุทธเจ้า หากเป็นของพระอรหันตสาวกจะเรียกว่า "พระธาตุ" เท่านั้น.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพระบรมสารีริกธาตุ
พระมหากัสสปะ
ระมหากัสสปะ เป็นพระอรหันต์สาวกองค์หนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า เป็นเอตทัคคะที่ทรงยกย่องและให้ถือเป็นแบบอย่างในด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์, พระสุตตัตนตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต ๑.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพระมหากัสสปะ
พระตำหนักดอยตุง
ระตำหนักดอยตุง พระตำหนักดอยตุง ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 7 บ้านมูเซอลาบา ตำบลแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย บริเวณสันเขาของเทือกดอยนางนอน ระดับความสูงประมาณ 1,200 ม.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และพระตำหนักดอยตุง
กรมศิลปากร
กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และกรมศิลปากร
กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)
กุน
right กุน เป็นชื่อปีที่ 12 ซึ่งเป็นปีสุดท้ายของรอบปีนักษัตร มีสัญลักษณ์เป็นหมู พุทธศักราชที่ตรงกับปีกุน เช่น พ.ศ.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และกุน
วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร (180px) พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยู่บนยอดดอยสุเทพ เป็นหนึ่งในวัดที่มีความสำคัญมากที่สุดของจังหวัดเชียงใหม่ ก่อสร้างตามแบบศิลปะล้านนา มีเจดีย์ทรงเชียงแสน ฐานสูงย่อมุมระฆังทรงแปดเหลี่ยมปิดด้วยทองจังโก 2 ชั้น ลานเจดีย์เป็นจุดชมทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ทางขึ้นเป็นบันไดนาคเจ็ดเศียรก่อปูน เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันคือพระธรรมเสนาบดี (ธงชัย สุวณฺณสิริ).
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
อำเภอแม่สาย
แม่สาย (50px; 50px) เป็นอำเภอเหนือสุดของจังหวัดเชียงรายและเหนือสุดของประเทศไทย ตั้งที่ว่าการที่ตำบลเวียงพางคำ มีด่านชายแดนไทย-พม่าเรียกว่า "ด่านแม่สาย" สามารถผ่านด่านข้ามไปยังจังหวัดท่าขี้เหล็กของพม่าได้โดยมีแม่น้ำสายเป็นพรมแดนทางธรรมชาติ การคมนาคมจากอำเภอเมืองเชียงรายไปอำเภอแม่สายโดยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (พหลโยธิน ตอนเชียงราย-แม่สาย) ระยะทาง 63 กิโลเมตร.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และอำเภอแม่สาย
อำเภอแม่จัน
อำเภอแม่จัน (45px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงร.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และอำเภอแม่จัน
จังหวัดเชียงราย
ังหวัดเชียงราย (55px เจียงฮาย; 50px) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มีภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ที่ตั้งของเมืองมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคก่อตั้งอาณาจักรล้านนา เช่น เมืองเงินยาง เมืองเชียงแสน เมืองเชียงราย เมืองเชียงรายเป็นพื้นที่ดั้งเดิมของชาวไทยวน ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายแบ่งการปกครองออกเป็น 18 อำเภอ มีน้ำแม่กก น้ำแม่อิง แม่น้ำรวก และแม่น้ำโขง เป็นแม่น้ำสายสำคัญ ทำเลที่ตั้งของจังหวัดเชียงรายอยู่บริเวณรอยต่อระหว่าง 3 ประเทศ คือ ประเทศไทย ประเทศพม่า และประเทศลาว หรือรู้จักกันในนามของดินแดนสามเหลี่ยมทองคำ ซึ่งอดีตเป็นแหล่งผลิตฝิ่นที่สำคัญของโลก ปัจจุบัน จังหวัดเชียงรายได้รับความสนใจในฐานะประตูสู่พม่า ลาว และจีนตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 เมืองเชียงรายมีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสน ซึ่งเป็นนครหลวงก่อนการกำเนิดอาณาจักรล้านนา มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านศิลปะ ประเพณีวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในรูปแบบล้านนา ไทใหญ่ ไทเขิน และไทลื้อจากสิบสองปันนาผสมผสานกัน.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และจังหวัดเชียงราย
ธันวาคม
ันวาคม เป็นเดือนที่ 12 และเดือนสุดท้ายของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนธันวาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีธนู และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีมกร แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนธันวาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนแบกงู และไปอยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูในปลายเดือน เดือนธันวาคมในภาษาอังกฤษ December มาจากภาษาละติน decem เนื่องจากเป็นเดือนที่ 10 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มต้นปีในเดือนมีนาคม.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และธันวาคม
ครูบาศรีวิชัย
รูบาศรีวิชัย หรือ พระสีวิไชย พระมหาเถระซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สร้างถนนทางขึ้นวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี..
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และครูบาศรีวิชัย
ตุง
right ตุง คือ ธงแขวนแบบหนึ่งในศิลปะล้านนา พบเห็นได้ในภาคเหนือของประเทศไทย ทำด้วย ผ้า ไม้ โลหะ ด้าย หรือกระดาษ เป็นรูปแถบยาว ห้อยลง ใช้ประดับ หรือประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อ โดยมีหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับพิธีกรรมที่ใช้ตุง.
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และตุง
ไทยวน
ทยวน (อ่านว่า ไท-ยวน) หรือ ไตยวน (อ่านว่า ไต-ยวน) เป็นกลุ่มประชากรที่พูดภาษาตระกูลภาษาไท-กะไดกลุ่มหนึ่งที่ตั้งถิ่นฐานทางตอนเหนือของประเทศไทยที่เคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา "ไทยวน" เป็นกลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักรล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายอย่าง เช่น "ยวน โยน หรือ ไต(ไท)" และถึงแม้ในปัจจุบัน ชาวล้านนาจะกลายเป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้วก็ตาม แต่ก็มักเรียกตนเองว่า "คนเมือง" ซึ่งเป็นคำเรียกที่เกิดขึ้นในภายหลัง ในยุคเก็บผักใส่ซ้าเก็บข้าใส่เมือง เพื่อฟื้นฟูประชากรในล้านนาหลังสงคราม โดยการกวาดต้อนกลุ่มคนจากที่ต่างๆเข้ามายังเมืองของตน คนไทยภาคกลางในสมัยโบราณเคยเรียก ชาวไทยในถิ่นเหนือว่า "ยวน" โดยปรากฎหลักฐานในวรรณคดีเช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งกวีของอยุธยารจนาขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ นักวิชาการต่างประเทศสันนิษฐานว่า คำว่า ยวน อาจจะมาจากคำสันสกฤตว่า "yavana" แปลว่า คนแปลกถิ่น หรือคนต่างถิ่น เจ้าอาณานิคมอังกฤษในสมัยที่เข้าปกครองประเทศพม่า มองว่าคนยวนเป็นพวกเดียวกับชาวฉาน โดยเรียกพวกนี้ว่า "คนฉานสยาม" (Siamese Shan) เพื่อแยกแยะออกจากจากชาวรัฐฉานในประเทศพม่าที่อังกฤษเรียกว่า "ฉานพม่า" (Burmese Shan) แสดงให้เห็นถึงความใกล้ชิดทางวัฒนธรรมประเพณีของคนไทใหญ่หลายๆกลุ่ม ในปี..
ดู วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)และไทยวน
หรือที่รู้จักกันในชื่อ วัดมหาชินธาตุดอยตุง (พระธาตุดอยตุง)วัดพระมหาชินธาตุเจ้า ดอยตุงวัดพระมหาชินธาตุเจ้าดอยตุงวัดพระธาตุดอยตุงพระมหาชินธาตุเจ้าดอยตุงพระธาตุดอยตุง