โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สองวัย (วงดนตรี)

ดัชนี สองวัย (วงดนตรี)

องวัย เป็นวงดนตรีเด็ก ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2522 อันประกอบด้วยสมาชิกสองวัย คือ เด็ก และผู้ใหญ่ มีเนื้อหาเพลงเป็น เพลงใสๆ เกี่ยวกับธรรมชาติ สมาชิกของวงสองวัย ประกอบด้วยนักดนตรีหลักสองคน คือ น้าต้อม (กิตติพงศ์ ขันธกาญจน์) และ น้าวี (วีระศักดิ์ ขุขันธิน) และสมาชิกเด็กๆจากสโมสรผึ้งน้อย 5 คน คือ อ้อย นุช โอ๋ น้อย และมุก ร่วมด้วยน้าซู (ระพินทร์ พุฒิชาติ) ซึ่งเข้ามาร่วมงานตั้งแต่อัลบั้มชุดที่สอง สองวัยออกแสดงครั้งแรกในงานวันเด็ก เมื่อ..

11 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2522พ.ศ. 2525พ.ศ. 2548กะท้อนมหาวิทยาลัยศิลปากรระพินทร์ พุฒิชาติวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)สโมสรผึ้งน้อยอ้อย กะท้อนปิยนุช บุญประคองเพลงเพื่อชีวิต

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2548

ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และพ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กะท้อน

กะท้อน ชื่อวง "กะท้อน" คือชื่อเฉพาะของวงดนตรีทางพื้นเมือง ไม่ใช่วงดนตรีชั้นสูง แต่เล่นดนตรีที่สะท้อนสังคมและโลกที่สาม: เป็นนิยามจากปกเทปชุดแรก เป็นวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งโดย ระพินทร์ พุฒิชาติ(ซู) กับเศก ศักดิ์สิทธิ์ และอู๊ด ยานนาวา โดยมีนักร้องนำหญิงคือ วันทนีย์ เอียดเอื้อ และสมทิศ ศิลปวานนท์ ซึ่งเคยเป็นนักร้องเด็กร่วมงานกับระพินทร์ ในสองวัย เริ่มมีผลงานเพลงชุดแรกกับค่ายครีเอเทีย(ซึ่งไม่เคยรับศิลปินเพลงเพื่อชีวิตมาก่อน) เมื่อปี พ.ศ. 2529 และออกอัลบั้มตามมาอีกสองชุด ก่อนที่ระพินทร์ และศักดิ์สิทธิ์ หัวหอกสำคัญของวงจะแยกตัวแล้วก่อตั้งวง ซูซู มีผลงานโดดเด่นในปี พ.ศ. 2532 ขณะที่กะท้อนยังเก็บเกี่ยวชื่อเสียงต่อไปกับอัลบั้มอีก 4 ชุด แล้วยุบวงในที่สุด เนื่องจากไม่มี วันทนีย์ นักร้องนำฝ่ายหญิงของวงซึ่งไปออกอัลบั้มเดี่ยวแล้วจนถึงปัจจุบัน วงกะท้อน มีเพลงที่มีชื่อเสียงได้แก่เพลง "สาวรำวง", "แม่ย่านาง","บุญแข่งเรือ", "บุหงาอันดามัน" และ"บุหงายาวี".

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และกะท้อน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ระพินทร์ พุฒิชาติ

ระพินทร์ พุฒิชาติ หรือ มีชื่อเล่นเดิมว่า ต้อย เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และระพินทร์ พุฒิชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)

วันเด็กแห่งชาติ ในไทย ตรงกับวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันหยุดราชการที่ไม่ได้ชดเชยในวันทำงานถัดไป มีการให้คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรผึ้งน้อย

มสรผึ้งน้อย เป็นรายการสำหรับเด็ก ออกอากาศครั้งแรกในปี พ.ศ. 2521 ทางททบ.5 ทุกวันศุกร์ เวลา 16.30-17.30 น. ออกอากาศจนถึงปี..

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และสโมสรผึ้งน้อย · ดูเพิ่มเติม »

อ้อย กะท้อน

ปรมสิณี เอียดเอื้อ หรือ อ้อย วงกะท้อน เป็นนักร้องเพลงเพื่อชีวิต.

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และอ้อย กะท้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปิยนุช บุญประคอง

ปิยนุช บุญประคอง หรือ น้องนุช สองวัย สมาชิกวงสองวัย เป็นนักร้องนำ เด็กหญิงคนเล็กของสองวัยในยุคแรก อัลบัมที่ 1 ได้ร้องนำในเพลงแมงมุม และร้องคู่กับน้าต้อมในเพลงใบไม้ร่วง ดอกไม้หายไปไหน มองดูเดือน อัลบัมที่ 2 ได้ร้องนำในเพลง กระแตตื่นเช้า แม่จ๋าไปไหน สะพานสายรุ้ง และถามผีเสื้อ อัลบัมที่ 3 ได้ร้องนำในเพลง 6 นาฬิกา ถุงเท้าหาย ถามรถไฟ ฝันเห็นดวงจันทร์ ปิยนุชถือได้ว่าเป็นผู้เก็บรวบรวมเรื่องราวของวงสองวัยได้มากมายที่สุด และเป็นผู้นำในการจัดกิจกรรมและเผยแพร่เรื่องราวเกี่ยวกับสองวัยในยุคหลัง ตั้งแต..

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และปิยนุช บุญประคอง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเพื่อชีวิต

การแสดงดนตรีของวงคาราวานในรายการเมืองไทยรายสัปดาห์สัญจรครั้งที่ 3 เพลงเพื่อชีวิต ถือกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่แรกเริ่มหมายถึงเพลงที่มีเนื้อหากล่าวถึงชีวิตของคน โดยเฉพาะคนชนชั้นล่าง กล่าวถึงความยากลำบากในการใช้ชีวิต การถูกเอารัดเอาเปรียบ เพลงในแนวเพื่อชีวิตในยุคนี้โดยมากจะเป็นเพลงลูกทุ่ง เช่น เพลง กลิ่นโคนสาบควาย ของคำรณ สัมบุญณานนท์, จักรยานคนจน ของยอดรัก สลักใจ, น้ำมันแพง ของสรวง สันติ, น้ำตาอีสาน แต่งโดยชลธี ธารทอง และขับร้องโดยสายัณห์ สัญญา เป็นต้น เพลงเพื่อชีวิตในประเทศไทยเริ่มเฟื่องฟูเป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางโดยแพร่หลายช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยเนื้อหาของเพลงไม่จำกัดเฉพาะชีวิตของคนชั้นล่างอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงการเรียกร้องประชาธิปไตยและการเหน็บแนมการเมืองอีกด้วย และแนวดนตรีได้เปิดกว้างขึ้นเป็นแนวอคูสสติกหรือร็อก โดยได้รับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากศิลปินต่างประเทศ เช่น บ็อบ ดิลลัน, บ็อบ มาร์เลย์, นีล ยัง, ไซมอน แอนด์ การ์ฟังเกล เป็นต้น เทียบได้กับโปรเทสต์ซองของสหรัฐอเมริกา โดยคำว่า "เพลงเพื่อชีวิต" นั้น มาจากคำว่าศิลปะเพื่อชีวิต หรือวรรณกรรมเพื่อชีวิต ซึ่งเป็นวรรณกรรมที่ว่าถึงชีวิตและการต่อสู้ของมนุษย์ในสังคม ในยุคนี้เพลงเพื่อชีวิตเฟื่องฟูมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเป็น "เพชรเม็ดงามของวรรณกรรมเพื่อชีวิต" เพลงเพื่อชีวิตมักจะรวมเอาองค์ประกอบของดนตรีตะวันตกเหมือนกันเช่นเพลงบัลลาด และเพิ่มเป็นจังหวะของดนตรีไทยเซ่น สามช่า หมอลำ และลูกทุ่ง และมีองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิกไทยบ้างเช่นกัน เพลงเพื่อชีวิตในยุคแรกจะเป็นดนตรีโฟล์กตะวันตกพร้อมกับการใช้เครื่องดนตรีอคูสติก ซึ่งต่อมาได้เพิ่มดนตรีร็อกพร้อมกับกีตาร์ไฟฟ้า เบส และกลองชุด บางศิลปินยังได้รับอิทธิพลของเร้กเก้ สกา และเพลงละตินบ้างและบางศิลปินยังใช้เครื่องดนตรีไทยเซ่น พิณ ขลุ่ย และซออู้ โดยวงดนตรีเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คาราวาน, แฮมเมอร์, โคมฉาย เป็นต้น ความนิยมในเพลงเพื่อชีวิตไม่ได้เป็นเพียงกระแสในห้วงเวลานั้น หากแต่ยังได้รับความนิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีวงดนตรีและนักร้องเพลงเพื่อชีวิตที่มีชื่อเสียงในปัจจุบัน เช่น คาราบาว, พงษ์สิทธิ์ คำภีร์, พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ, อินโดจีน, คนด่านเกวียน, มาลีฮวนน่า, โฮป, ซูซู, ตีฆอลาซู เป็นต้น อีกทั้งยังมีศิลปินบางคนหรือบางกลุ่มที่ไม่ได้เป็นเพื่อชีวิตอย่างเต็มตัว แต่เนื้อหาของเพลงหลายเพลงมีเนื้อหาที่คล้ายคลึงกับเพื่อชีวิตหรือจัดให้อยู่ประเภทเพื่อชีวิตได้ เช่น จรัล มโนเพ็ชร, เสกสรร ทองวัฒนา, ธนพล อินทฤทธิ์, หนู มิเตอร์, นิค นิรนาม, พลพล พลกองเส็ง, กะท้อน, ศุ บุญเลี้ยง, สิบล้อ เป็นต้น.

ใหม่!!: สองวัย (วงดนตรี)และเพลงเพื่อชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วงสองวัย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »