สารบัญ
วิทยารูมาติก
วิทยารูมาติก (rheumatology; ρεύμα, rheuma, กระแสไหล) เป็นสาขาเฉพาะทางย่อยในวิชาอายุรศาสตร์ซึ่งอุทิศให้กับการวินิจฉัยและรักษาโรครูมาติก แพทย์รูมาติกรักษาโรคที่อาศัยภูมิคุ้มกันของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก เนื้อเยื่ออ่อน โรคภูมิคุ้มกันตนเอง หลอดเลือดอักเสบและโรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์เป็นหลัก ปัจจุบันหลายโรคข้างต้นทราบว่าเป็นโรคของระบบภูมิคุ้มกัน วิทยารูมาติกถือว่าเป็นเวชปฏิบัติของวิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 2000 การรวมยาชนิดใหม่ที่เรียก ไบออลอจิกส์ (ซึ่งรวมตัวยับยั้งทีเอ็นเอฟ-แอลฟา, ไซโทไคน์บางชนิด และองค์ประกอบอื่นของวิถีอักเสบ) เข้ากับทรัพยากรแพทยศาสตร์สมัยใหม่นำไปสู่การเปลี่ยนรูปแบบวิธีการประกอบกิจวิทยารูมาติก.
ข้อต่อ
้อ หรือ ข้อต่อ (Joints) ในทางกายวิภาคศาสตร์ หมายถึงบริเวณที่กระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปมีการติดต่อกัน ทำให้กระดูกมีการทำงานร่วมกันเป็นระบบเพื่อการค้ำจุนปกป้องร่างกายและการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม ข้อต่อในร่างกายมนุษย์มีหลายแบบ และสามารถจัดจำแนกได้ตามลักษณะโครงสร้าง และคุณสมบัติในการเคลื่อนไหว.
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
นื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เป็นหนึ่งในสี่เนื้อเยื่อสัตว์พื้นฐาน (อันได้แก่ เนื้อเยื่อบุผิว, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ, และ เนื้อเยื่อประสาท) เนื้อเยื่อนี้มีลักษณะสำคัญร่วมกันคือ.
ดู รูมาติซึมและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ดูเพิ่มเติม
ความผิดปกติของเนื้อเยื่ออ่อน
- ถุงหุ้มข้อไหล่อักเสบยึดติด
- รูมาติซึม
- เบอร์ไซติส
วิทยารูมาติก
- กลุ่มอาการแอนไทฟอสโฟไลปิด
- ข้ออักเสบ
- ข้ออักเสบรูมาตอยด์
- จ้ำเลือดฮีน็อช–เชินไลน์
- ปวดในข้อ
- รูมาติซึม
- วิทยารูมาติก
- โรคกระดูกพรุน
- โรคเกาต์
- ไข้รูมาติก
- ไฟโบรไมอัลเจีย
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Rheumatismรูมาติสซั่ม