โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รูปแบบเภสัชภัณฑ์

ดัชนี รูปแบบเภสัชภัณฑ์

รูปแบบเภสัชภัณฑ์ (Dosage form) คือรูปแบบทางกายภาพของสารประกอบทางเคมีที่นำมาใช้เป็นยา สารเคมีแต่ละกลุ่มที่นำมาใช้เป็นยานั้นมีการออกฤทธิ์และส่งผลต่อร่างกายแตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการคิดค้นรูปแบบเภสัชภัณฑ์เพื่อให้ยาออกฤทธิ์ได้ตรงกับบริเวณเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผลสูงสุด โดยต้องคำนึงถึงความปลอดภัยและความถูกต้องตามเภสัชตำรั.

4 ความสัมพันธ์: ยายาสกัดไหลเหลวยาน้ำเชื่อมเจล

ยา

thumb ยา เป็นวัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขประกาศ, วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรคหรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์, วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือวัตถุที่มุ่งหมายสำหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้างหรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว.

ใหม่!!: รูปแบบเภสัชภัณฑ์และยา · ดูเพิ่มเติม »

ยาสกัดไหลเหลว

ยาสกัดไหลเหลว (fluid extract) เป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบของเหลวชนิดหนึ่ง (liquid dosage form) ซึ่งจัดเป็นยาน้ำสารละลาย (solution) ชนิดที่ใช้ของเหลวที่ไม่ใช้น้ำเป็นกระสายยา (non-aqueous solution) โดยเป็นตำรับยาที่เตรียมจากการสกัดสมุนไพรด้วยแอลกอฮอล์ 100% และมีการใช้สารแต่งกลิ่นบ้าง จึงไม่เหมาะที่จะนำมาใช้เป็นยารักษา และไม่เป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันมากนัก หมวดหมู่:ยา.

ใหม่!!: รูปแบบเภสัชภัณฑ์และยาสกัดไหลเหลว · ดูเพิ่มเติม »

ยาน้ำเชื่อม

น้ำเชื่อม (syrup) เป็นเภสัชภัณฑ์รูปแบบของเหลวชนิดหนึ่งซึ่งตำรับยาที่มีลักษณะใสและหนืด มีส่วนผสมของน้ำตาลเช่น น้ำตาลซูโครส หรือสารให้ความหวานอื่นๆประกอบอยู่ นอกจากนี้ยังมีการแต่งกลิ่นและสีเพื่อเพิ่มความน่าใช้หรือน่ารับประทานอีกด้ว.

ใหม่!!: รูปแบบเภสัชภัณฑ์และยาน้ำเชื่อม · ดูเพิ่มเติม »

เจล

ล เป็นวัสดุคล้ายของแข็ง เกิดจากสารละลายคอลลอยด์ (colloidal solution) มีโครงสร้างแบบร่างแห ที่สามารถเพิ่มปริมาตรเมื่ออยู่ในของเหลว ตัวอย่างของเจลที่กินได้ ได้แก่เจลาติน โดยมากมีสมบัติเป็นของเหลวเมื่อถูกกวน และสามารถกลับเป็นของแข็งเมื่อปล่อยทิ้งให้พัก (thixotropy).

ใหม่!!: รูปแบบเภสัชภัณฑ์และเจล · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »