โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์

ดัชนี รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์

รายพระนามพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน ในราชวงศ์จักรี ที่กราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เพื่อทรงเสกสมรสกับสามัญชน หรือด้วยหตุผลบางประการ และบางองค์ก็ถูกถอดออกจากฐานันดรศักดิ์ เนื่องจากทรงกระทำความผ.

77 ความสัมพันธ์: บวรวิจิตร สุทัศนีย์พรรณเพ็ญแข กฤดากรพระบรมวงศานุวงศ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระยศเจ้านายไทยพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชาพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารุจาวรฉวีพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิปพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดมพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคลพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพรพันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์พันธุ์สวลี กิติยากรการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475การเฉลิมพระยศเจ้านายภานุมา พิพิธโภคาภุมรีภิรมย์ เชลล์มาลินีมงคล อมาตยกุลรังษีนภดล ยุคลราชกิจจานุเบกษาราชวงศ์จักรีรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์รำไพศรีสอางค์ สนิทวงศ์วุฒิสวาท อนุมานราชธนวุฒิเฉลิม วุฒิชัยศกุนตลา ปัทมะสังข์ศรีรัศมิ์ สุวะดีศรีสว่างวงศ์ บุญจิตราดุลย์ศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณสมบูรณาญาสิทธิราชย์สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์...สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสวรรณา วิชัยรัตน์สุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุลสุริยนันทนา สุจริตกุลหม่อมเจ้าหม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์อมิตตา ธรรมารักษ์อรอำไพ โกมารกุล ณ นครอินทุรัตนา บริพัตรอุบลพรรณี แครบบ์จันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศจันทร์เจริญ รัชนีจารุพัตรา ศุภชลาศัยจารุลักษณ์กัลยาณี บูรณะนนท์ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีคันธรสรังษี แสงมณีฉัตรสุดา วงศ์ทองศรีประชาธิปไตยประภาพันธุ์ กรโกสียกาจปัทมนรังษี เสนาณรงค์โสมกานดา ภาษวัธน์ไตรทิพย์สุดา วิเศษกุลเกษมเสาวภา ซัคกาเรียเริงจิตร์แจรง อาภากร ขยายดัชนี (27 มากกว่า) »

บวรวิจิตร สุทัศนีย์

ท่านหญิงบวรวิจิตร สุทัศนีย์ หรือชื่อสกุลต่อมาว่า น้อย ภมรพล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าบวรวิจิตร สุทัศนีย์; ประสูติ: 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2455 บ้างว่าปี พ.ศ. 2459 - สิ้นชีพิตักษัย: 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นพระธิดาพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร กับหม่อมผัน สุทัศนีย์ ณ อยุธยา พระบิดาเป็นพระโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ประสูติแต่จอมมารดาหม่อมหลวงนวม ปาลกะวงศ์ และเป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าบวรวิจิตร ทรงกราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์ เมื่อวันที่ 28 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และบวรวิจิตร สุทัศนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรณเพ็ญแข กฤดากร

ท่านหญิงพรรณเพ็ญแข กฤดากร (พระนามเดิม:หม่อมเจ้าพรรณเพ็ญแข เพ็ญพัฒน์) ประสูติเมื่อ 11 กันยายน..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพรรณเพ็ญแข กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมวงศานุวงศ์

ระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลที่ 9 ภายในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยประกอบด้วย 2 คำ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระบรมวงศานุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระยศเจ้านายไทย

ในประเทศไทย พระยศเจ้านาย คือพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระยศเจ้านายไทย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา

นายร้อยเอก มหาอำมาตย์ตรี นายกองตรี พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา (25 กันยายน พ.ศ. 2414 - 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2470) เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกับจอมมารดาเลี่ยมใหญ่ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติทรงรับราชการในรัชกาลที่ 5 ทรงเข้ารับราชการในกรมยุทธนาธิการ ตำแหน่งเสมียนฝึกหัด จนได้เลื่อนเป็นนายร้อยเอก ต่อมาย้ายมารับราชการในกระทรวงมหาดไทย เป็นเลขานุการของเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ได้เลื่อนเป็นเป็นเจ้ากรมมหาดไทย ในรัชกาลที่ 6 เป็นเลขานุการหอพระสมุดวชิรญาณ และทรงได้รับการสถาปนาเป็น พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากัลยาณประวัติ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ

นายพันเอก พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ (25 กรกฎาคม พ.ศ. 2413 — 29 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 13 ค่ำ ปีมะเมีย โทศก จุลศักราช 1232 ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2413 เป็นพระราชโอรสในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญและจอมมารดาปริกเล็ก ทรงเป็นต้นราชสกุลกาญจนะวิชัย ออกพระนามโดยทั่วไปว่า พระองค์ชายกลาง พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมีทรงเริ่มเข้ารับราชการในกรมทหารรักษาพระองค์ จนได้เลื่อนยศเป็น "พันโท ราชองครักษ์ประจำการ" จากนั้นได้ย้ายไปดำรงตำแหน่ง "ผู้บังคับการกรมทหารราบที่ ๑๔" เมื่อถึงกำหนดได้กลับมารับราชการเป็นราชองครักษ์ประจำการและเลื่อนยศเป็น "นายพันเอก" ต่อมาได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นผู้บังคับการกองดับเพลิงสวนดุสิต ต่อมาในปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากาญจโนภาสรัศมี กรมหมื่นชาญไชยบวรยศ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์

มหาอำมาตย์โท พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส หรือนามปากกว่า น.ม.. (10 มกราคม พ.ศ. 2419 – 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นปราชญ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย ทรงเป็นต้นราชสกุล "รัชนี" สิ้นพระชนม์เมื่อวันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารุจาวรฉวี

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารุจาวรฉวี (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 — พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 19 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาสมบุญ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารุจาวรฉวี · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์

นายเรือโท พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์ราชกุมาร (23 เมษายน พ.ศ. 2416 — 26 ธันวาคม พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสอันดับที่ 15 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงเป็นต้นราชสกุล วรวุฒิ ณ อ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวุฒิอาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร (28 มีนาคม พ.ศ. 2415 — 24 ตุลาคม พ.ศ. 2461) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 14 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาหม่อมหลวงนวม.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทัศนนิภาธร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ

มหาอำมาตย์เอก นายพลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่ง ได้แก่ อภิรัฐมนตรี องคมนตรี สมุหมนตรี ราชองครักษ์พิเศษ เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และนายทหารพิเศษกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ และทรงเป็นต้นราชสกุลกิติยากร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าวรวรรณากร เป็นพระบิดาแห่งการละครร้อง เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับ เจ้าจอมมารดาเขียน ทรง เป็นกวีและนักประพันธ์ ทรงเข้ารับราชการในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งรองเสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ทรงเป็นต้นราชสกุลวรวรรณ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร

ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส พระนามเดิม พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 51 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาโหมด เมื่อวันอังคาร เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอกฉศก..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 — 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "อาภากร" เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงได้รับสมัญญานามว่า "องค์บิดาของทหารเรือไทย" พระองค์ทรงเป็นผู้วางรากฐานการบริหารงานของกองทัพเรือ ทรงได้รับการเชิดชูในหมู่ทหารเรือเรียกขานพระองค์ว่า "เสด็จเตี่ย" หรือ "หมอพร" และ "พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย" ต่อมาในปี 2536 มีประกาศกองทัพเรือขนานพระนามพระองค์ว่า "พระบิดาของกองทัพเรือไทย" และในปี 2544 แก้ไขเป็น "องค์บิดาของทหารเรือไทย" ภายหลังจากการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ ได้มีการจัดสร้างศาลและพระอนุสาวรีย์พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวมทั้งสิ้น 217 แห่งทั่วประเทศไทย เช่น โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี หรือที่พระตำหนักที่หาดทรายรี จังหวัดชุมพร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา

มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร ทรงเป็นต้นราชสกุลจันทรทัต.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม

นายพลตรี นายพลเรือเอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทองกองก้อนใหญ่ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป

กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป อยู่แถวหลังองค์ที่ ๗ ข้าราชการพลเรือนชั้นที่ 2 ระดับเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไชยานุชิต พระราชโอรสพระองค์ที่ 55 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเที่ยง โดยประสูติเมื่อวันอังคาร เดือน 9 แรม 6 ค่ำ ปีระกาตรีศก..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม พระนามเดิม พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล "เพ็ญพัฒน์" เป็นผู้พระนิพนธ์เพลงลาวดวงเดือน พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 38 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันประสูติแต่เจ้าจอมมารดามรกฎ ธิดาของเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล) ประสูติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2425 เสด็จไปศึกษาทางด้านเกษตรศาสตร์จากประเทศอังกฤษ สำเร็จการศึกษาเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเพ็ญพัฒนพงศ์ กรมหมื่นพิไชยมหินทโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ มีพระนามเดิม พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค เป็นพระราชโอรสลำดับที่ 30 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ ประสูติเมื่อวันจันทร์ เดือน 9 แรม 12 ค่ำ ปีมะเส็ง นพศก..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมศรีศุภโยค กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาแพ เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2399 พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ เป็นพระเจ้าน้องยาเธอที่มีบทบาทในงานวรรณกรรมในช่วงต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นเจ้าของและบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ดรุโณวาท ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ฉบับแรกที่เผยแพร่แก่ประชาชน และดำเนินการโดยคนไทย เริ่มออกฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2417 ชื่อหนังสือมีความหมายว่า "โอวาทหรือคำสอนของคนหนุ่ม" มีทั้งสารคดีและบันเทิงคดี มีสาระทันสมัย แสดงความสามารถและสติปัญญาของคนหนุ่มรุ่นใหม่ในยุคนั้น พระองค์เจ้าเกษมสันตโสภาคย์ รับราชการในโรงพิมพ์และการเสื้อหมวก เป็นพนักงานจารึกอักษรในแผ่นศิลาประดับวัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2467 สิริพระชันษาได้ 67 ปี.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเกษมสันต์โสภาคย์ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล หรือ พระองค์ชายใหญ่ (27 พฤศจิกายน 2453 - 5 กุมภาพันธ์ 2538) เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล และเป็นพระอัยกา(ตา)ในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงเป็นผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับละครและภาพยนตร์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์เรื่องและคำร้องเพลงประกอบหลายเรื่อง และเป็นผู้ร่วมก่อตั้งธนาคารไทยทนุ เมื่อปี..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ หรือ พระองค์ชายเล็ก (อังกฤษ: His Royal Highness Prince Anusorn Mongkolkarn) (1 เมษายน 2458 - 2 มกราคม 2541) เป็นพระโอรสองค์สุดท้องใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (พระธิดาใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ซึ่งเป็นพระอนุชาร่วมพระครรโภทรกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) มีพระเชษฐา 2 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2428 พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น ทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ได้รับปริญญา B.A. วิชากฎหมายและการปกครอง จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ปรระเทศอังกฤษ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 และเลื่อนขึ้นเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2443 โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ในรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2466 พระองค์ประชวรโดยพระอันตะ (ลำไส้ใหญ่) อักเสบเป็นแผลเรื้อรังและสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2477 รวมพระชนมายุ 49 พรรษา พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ได้แก่ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร

ลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง (29 เมษายน พ.ศ. 2456 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2534) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ กับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล มีพระเชษฐา คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล และ พระอนุชา คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์

แพทย์หญิง พันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์ นามเดิม หม่อมเจ้าพันธุ์วโรภาส ภาณุพันธุ์ (4 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชหม่อมมาลี ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพันธุ์วโรภาส เศวตรุนทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธุ์สวลี กิติยากร

ท่านผู้หญิงพันธุ์สวลี กิติยากร (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าพันธุ์สวลี ยุคล; ประสูติ: 24 กันยายน พ.ศ. 2476) ภริยาของหม่อมราชวงศ์อดุลกิติ์ กิติยากร เป็นพระมารดาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และพระอัยยิกาในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา พระราชนัดดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และพันธุ์สวลี กิติยากร · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

การเฉลิมพระยศเจ้านาย

ระยศเจ้านาย ในราชสกุลมี 2 ประเภทคือ สกุลยศ คือ ยศที่เกิดเป็นเจ้าชั้นใดในเบื้องต้น เจ้านายที่เกิดในสกุลยศชั้นใด ก็อยู่ในชั้นยศชั้นนั้น เป็นยศที่ได้โดยการเกิด และ "อิสริยยศ" คือยศที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสถาปนาแต่งตั้งให้ทางราชการในภายหลัง และ"ยศทางสกุล"โดยชั้นข้าหลวงให้นำหน้าสกุลว่า"วงค์"(เมื่อสิ้นสุดรัชกาล สำหรับเมื่อเป็นสามัญชน) เช่น วงค์ปินตา วงค์สมบูรณ์ วงค์บวรคง วงค์ปิ่นแก้ว ฯลฯ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และการเฉลิมพระยศเจ้านาย · ดูเพิ่มเติม »

ภานุมา พิพิธโภคา

นุมา พิพิธโภคา พระนามเดิม หม่อมเจ้าหญิงภานุมา ยุคล เป็นพระธิดาองค์เล็กในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล ประสูติแด่หม่อมไฉไล ยุคล ณ อยุธยา และมีศักดิ์เป็นพระมาตุจฉา(น้า)ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และหม่อมหลวงสราลี กิติยากร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และภานุมา พิพิธโภคา · ดูเพิ่มเติม »

ภุมรีภิรมย์ เชลล์

มรีภิรมย์ เชลล์ นามเดิม หม่อมเจ้าหญิงภุมรีภิรมย์ ยุคล เรียกกันในครอบครัวว่า ท่านหญิงน้อย เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา (เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์) ประสูติเมื่อวันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และภุมรีภิรมย์ เชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

มาลินีมงคล อมาตยกุล

มาลินีมงคล อมาตยกุล นามเดิม หม่อมเจ้าหญิงมาลินีมงคล ยุคล หรือ “ท่านหยอย” (24 มิถุนายน พ.ศ. 2483) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ประสูติแต่หม่อมอุบล ยุคล ณ อ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และมาลินีมงคล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

รังษีนภดล ยุคล

ณหญิงรังษีนภดล ยุคล (2 ตุลาคม พ.ศ. 2480 - 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560) (นามเดิม: หม่อมเจ้ารังษีนภดล ยุคล) มีนามลำลองคือ ท่านหญิงอ๋อย เป็นพระธิดาองค์เล็กของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล กับหม่อมหลวงสร้อยระย้า ยุคล.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และรังษีนภดล ยุคล · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

มื่อถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนาพระอิสริยยศเจ้านายในพระราชวงศ์ ก็ทรงตั้งเป็นต่างกรมตามชั้นยศซึ่งบัญญัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่มีผิดกันบ้างเล็กน้อย มีการสถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์เรื่อยมาในทุกรัชกาล โดยครั้งล่าสุดในปี พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ได้โปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเจ้านายในพระราชวงศ์จักรี จำนวน 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และรายพระนามเจ้านายที่ได้รับการเฉลิมพระยศในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รำไพศรีสอางค์ สนิทวงศ์

ท่านหญิงรำไพศรีสอางค์ สนิทวงศ์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าหญิงรำไพศรีสอางค์ รพีพัฒน์ เป็นพระธิดาใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์และหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช ประสูติเมื่อ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2462 มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินี ต่างพระมารดา 12 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และรำไพศรีสอางค์ สนิทวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสวาท อนุมานราชธน

ท่านหญิงวุฒิสวาท อนุมานราชธน (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าวุฒิสวาท วุฒิชัย; ประสูติ: 8 ตุลาคม พ.ศ. 2473 — สิ้นชีพิตักษัย: 23 มกราคม พ.ศ. 2557) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร กับหม่อมประพันธ์ วุฒิชัย ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ชะตารุ่ง) มีพระพี่น้องร่วมบิดามารดาคือ หม่อมเจ้าไกรสิงห์ วุฒิชัย, วุฒิเฉลิม กิลเบอร์ต และวุฒิวิฑู วุฒิชัย ท่านหญิงวุฒิสวาท ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และวุฒิสวาท อนุมานราชธน · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิเฉลิม วุฒิชัย

วุฒิเฉลิม วุฒิชัย (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร กับหม่อมประพันธ์ วุฒิชัย ณ อ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และวุฒิเฉลิม วุฒิชัย · ดูเพิ่มเติม »

ศกุนตลา ปัทมะสังข์

ท่านหญิงศกุนตลา ปัทมะศังข์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าหญิงศกุนตลา สวัสดิวัตน์ ประสูติเมื่อ 29 กันยายน พ.ศ. 2454 พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับหม่อมเร่ สวัสดิวัตน์ (บุนนาค) มีพระขนิษฐาและพระอนุชา ร่วมพระอุทร 10 องค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และศกุนตลา ปัทมะสังข์ · ดูเพิ่มเติม »

ศรีรัศมิ์ สุวะดี

ลตรีหญิง ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี (9 ธันวาคม พ.ศ. 2514) หรือเดิม พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และศรีรัศมิ์ สุวะดี · ดูเพิ่มเติม »

ศรีสว่างวงศ์ บุญจิตราดุลย์

ท่านหญิงศรีสว่างวงศ์ บุญจิตราดุลย์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าหญิงศรีสว่างวงศ์ ยุคล เป็นพระธิดาใน พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร หรือ พระองค์ชายกลาง กับหม่อมทองแถม ยุคล ณ อยุธยา (ประยูรโต) เป็นพระนัดดาใน พลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ และเป็นพระราชปนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ประสูติเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2489 เมื่อแรกประสูติมีฐานันดรศักดิ์ที่ "หม่อมเจ้า" ต่อมาทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2521 เพื่อเสกสมรสกับนายศักดา บุญจิตราดุลย์ มีบุตร-ธิดา 2 คน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และศรีสว่างวงศ์ บุญจิตราดุลย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณ

ท่านหญิงศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าศิริมาบังอร อาภากร; ประสูติ: 6 มิถุนายน พ.ศ. 2447 — สิ้นชีพืตักษัย: 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และ หม่อมแฉล้ม อาภากร ณ อยุธยา มีพระพี่น้องต่างพระมารดา 9 พระองค์ ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์เพื่อเสกสมรสกับนายสถาพร เหรียญสุวรรณ บุตรนายเส็ง เหรียญสุวรรณ กับนางสำริด เหรียญสุวรรณ (สกุลเดิม โกเมน ณ อยุธยา) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน ท่านหญิงศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณ สิ้นชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 7 กุมภาพัน..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และศิริมาบังอร เหรียญสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ. 1871–1918) มีรัฐสภาที่ไม่มีอำนาจหรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ และมีองค์กรบริหารอื่น ๆ ที่กษัตริย์สามารถเปลี่ยนแปลงหรือยุบเลิกได้ตามต้องการ แม้จะมีผลเท่ากับระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่โดยทางเทคนิคที่เป็นไปได้แล้ว นี่คือราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ (constitutional monarchy) เนื่องจากการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญและกฎหมายพื้นฐานของประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบันคือ ซาอุดีอาระเบีย บรูไน โอมาน สวาซิแลนด์ กาตาร์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ รวมทั้ง นครรัฐวาติกัน ด้ว.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมบูรณาญาสิทธิราชย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร

ลเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร พระนามเดิม พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 - 7 มีนาคม พ.ศ. 2494) พระราชโอรสองค์ที่ 52 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ดำรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นพระองค์สุดท้.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาชุ่ม พระองค์ยังทรงเป็นต้นราชสกุลดิศกุล.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สวรรณา วิชัยรัตน์

ท่านหญิงสวรรณา วิชัยรัตน์ (นามเดิม: หม่อมเจ้าสวรรณา ภาณุพันธุ์;7 เมษายน พ.ศ. 2460 - 6 กันยายน พ.ศ. 2559) พระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชกับหม่อมแผ่ว ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสวรรณา วิชัยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุล

ท่านหญิงสุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสุมณีนงเยาว์ ดิศกุล; ประสูติ: 16 มีนาคม พ.ศ. 2451 - สิ้นชีพิตักษัยประมาณปี พ.ศ. 2546) หรือ ท่านหญิงโสฬส เป็นพระธิดาลำดับที่ 27 ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ลำดับที่ 6 ที่ประสูติในหม่อมลำดวน ดิศกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม: วสันต์สิงห์) มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีร่วมพระมารดา 5 พระองค์ คือ หม่อมเจ้าหญิงแฝด, หม่อมเจ้าพัฒนายุคุณวรรณ, หม่อมเจ้าสิวลีวิลาศ, หม่อมเจ้าทักษิณาธร และหม่อมเจ้านิพัทธ์พันธุดิศ ดิศกุล หม่อมเจ้าสุมณีนงเยาว์ ดิศกุล ทรงกราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสุมณีนงเยาว์ วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุริยนันทนา สุจริตกุล

ท่านผู้หญิงสุริยนันทนา สุจริตกุล (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าสุริยนันทนา สุริยง; 7 สิงหาคม พ.ศ. 2456 — 4 สิงหาคม พ.ศ. 2557) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุริยงประยุรพันธุ์ กรมหมื่นไชยาศรีสุริโยภาส ประสูติแต่หม่อมเรณี สุริยง ณ อยุธยา ต่อมาได้ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับจิตติ สุจริตกุล ซึ่งเป็นอดีตเอกอัครราชทูต และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเท.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และสุริยนันทนา สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้า

หม่อมเจ้า (His/Her Serene Highness) นั้นมีมาตั้งแต่ตอนต้นยุคกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี มีหลักฐานปรากฏชัดเจนเพราะว่ามีศักดินาอยู่ในพระอัยการพลเรือนที่ได้ตราขึ้นในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ผู้ที่จะดำรงพระยศเป็นหม่อมเจ้าได้มีดังนี้.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และหม่อมเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์

หม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์ (2 มิถุนายน พ.ศ. 2474 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2556) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธุ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช กับหม่อมอรุณ ภาณุพันธุ์ ณ อ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และหม่อมเจ้าอรุณแสงไข ภาณุพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อมิตตา ธรรมารักษ์

ท่านหญิงอมิตตา ธรรมารักษ์ พระนามเดิม หม่อมเจ้าหญิงอมิตดา สวัสดิวัตน์ ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2462 พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับหม่อมเร่ สวัสดิวัตน์ (บุนนาค) มีพระภคินี และพระขนิษฐาและพระอนุชา ร่วมพระอุทร 10 องค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และอมิตตา ธรรมารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อรอำไพ โกมารกุล ณ นคร

ณหญิงอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และอรอำไพ โกมารกุล ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

อินทุรัตนา บริพัตร

อินทุรัตนา บริพัตร (2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2465) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอินทุรัตนา บริพัตร และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอินทุรัตนา เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต และหม่อมสมพันธ์ บริพัตร ณ อยุธยา (สกุลเดิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา).

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และอินทุรัตนา บริพัตร · ดูเพิ่มเติม »

อุบลพรรณี แครบบ์

ท่านหญิงอุบลพรรณี แครบบ์ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าอุบลพรรณี วรวรรณ) มีพระนามลำลองคือ ท่านหญิงตัด เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์กับหม่อมผัน วรวรรณ ณ อ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และอุบลพรรณี แครบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

จันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศ

ท่านหญิง จันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าหญิงจันทรจรัสศรี ยุคล เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา (เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์) ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 เมื่อแรกประสูติมีฐานันดรศักดิ์ที่ "หม่อมเจ้า" แต่หม่อมเจ้าจันทรจรัสศรีทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อทำการสมรส กับ ประพันธุ์ ไพบูลย์เลิศ มีบุตร-ธิดา 2 คน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และจันทรจรัสศรี ไพบูลย์เลิศ · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์เจริญ รัชนี

ท่านหญิงจันทร์เจริญ รัชนี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจันทร์เจริญ รัชนี) เป็นพระธิดาในพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารัชนีแจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์กับหม่อมพัฒน์ รัชนี ณ อ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และจันทร์เจริญ รัชนี · ดูเพิ่มเติม »

จารุพัตรา ศุภชลาศัย

ท่านหญิงจารุพัตรา ศุภชลาศัย (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าจารุพัตรา อาภากร; ประสูติ: 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 — สิ้นชีพิตักษัย: 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2516) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ประสูติแต่หม่อมกิม อาภากร ณ อยุธยา (ธิดานายตั๊น ชุ่นเพียว) หม่อมเจ้าจารุพัตรา อาภากร ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งราชวงศ์ เพื่อสมรสกับหลวงศุภชลาศัย รองผู้บัญชาการทหารเรือ อธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้าง กรีฑาสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และจารุพัตรา ศุภชลาศัย · ดูเพิ่มเติม »

จารุลักษณ์กัลยาณี บูรณะนนท์

ณหญิงจารุลักษณ์กัลยาณี บูรณะนนท์ (นามเดิม: หม่อมเจ้าจารุลักษณ์กัลยาณี รังสิต; ประสูติ: 7 สิงหาคม พ.ศ. 2467 - ถึงอนิจกรรม 3 สิงหาคม พ.ศ. 2555) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร กับหม่อมเอลีซาเบท รังสิต ณ อยุธยา มีพระเชษฐาสององค์คือ หม่อมเจ้าปิยะรังสิต รังสิต (พ.ศ. 2456—2533) และหม่อมเจ้าสนิทประยูรศักดิ์ รังสิต (พ.ศ. 2460—2538) หม่อมเจ้าจารุลักษณ์กัลยาณี ได้กราบบังคมทูลลาออกจากฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และจารุลักษณ์กัลยาณี บูรณะนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี · ดูเพิ่มเติม »

คันธรสรังษี แสงมณี

ท่านหญิงคันธรสรังษี แสงมณี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าคันธรสรังษี รพีพัฒน์; ประสูติ: 5 มีนาคม พ.ศ. 2459 — สิ้นชีพืตักษัย: 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ประสูติแต่หม่อมแดง รพีพัฒน์ ณ อยุธยา มีพระพี่น้องต่างพระมารดา 11 พระองค์ หม่อมเจ้าหญิงคันธรสรังษี รพีพัฒน์ เสกสมรสกับหม่อมเจ้าทรงวุฒิไชย วุฒิชัย (27 มีนาคม 2454 - 27 ธันวาคม 2484) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร กับหม่อมเจ้าพร้อมเพราพรรณ ดิศกุล มีธิดา 2 คน คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และคันธรสรังษี แสงมณี · ดูเพิ่มเติม »

ฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี

ท่านผู้หญิงฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี (นามเดิม: หม่อมเจ้าฉัตรสุดา ฉัตรไชย; เกิด: 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463 — ถึงแก่อนิจกรรม 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2539) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน กับเจ้าลดาคำ ณ เชียงใหม่ หม่อมเจ้าฉัตรสุดาทรงเสกสมรสกับหม่อมเจ้ารวิพรรณไพโรจน์ รพีพัฒน์ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ต่อมาทรงหย่ากัน โดยมีพระธิดาด้วยกันหนึ่งพระองค์ คือ หม่อมราชวงศ์หญิงพัฒนฉัตร รพีพัฒน์ ภายหลังหม่อมเจ้าฉัตรสุดาทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เพื่อสมรสกับวรงค์ วงศ์ทองศรี นักธุรกิจ มีบุตร 3 คน คือ ฉัตรชัย วงศ์ทองศรี, ดนัยฉัตร วงศ์ทองศรี และธนฉัตร วงศ์ทองศรี ท่านหญิงฉัตรสุดาเคยทำงานในบริษัทการบินไทย หลังเกษียณได้เป็นนางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีน.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และประภาพันธุ์ กรโกสียกาจ · ดูเพิ่มเติม »

ปัทมนรังษี เสนาณรงค์

ปัทมนรังษี เสนาณรงค์ (12 สิงหาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระธิดาในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ประสูติแต่หม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา เป็นพระราชวงศ์ลำดับที่ 44 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และปัทมนรังษี เสนาณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

โสมกานดา ภาษวัธน์

ท่านหญิงโสมกานดา (จันทรทัต) ภาษวัธน์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าหญิงจำรูญจันทราภา จันทรทัต (ต่อมาได้รับพระราชทานนามใหม่จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า "โสมกานดา") ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และโสมกานดา ภาษวัธน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไตรทิพย์สุดา วิเศษกุล

ณหญิงไตรทิพย์สุดา วิเศษกุล ท..

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และไตรทิพย์สุดา วิเศษกุล · ดูเพิ่มเติม »

เกษมเสาวภา ซัคกาเรีย

ท่านหญิงเกษมเสาวภา ซัคกาเรีย (8 มิถุนายน พ.ศ. 2457 - 29 มกราคม พ.ศ. 2545) หรือ หม่อมเจ้าหญิงเกษมเสาวภา เกษมศรี เป็นพระธิดาลำดับที่ 29 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ ลำดับที่ 3 ที่ประสูติในหม่อมแหวน เกษมศรี ณ อยุธยา (ปาณิกบุตร) มีพระเชษฐาและพระอนุชาร่วมพระมารดา 3 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และเกษมเสาวภา ซัคกาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เริงจิตร์แจรง อาภากร

ท่านหญิงเริงจิตร์แจรง อาภากร (พระยศเดิม: หม่อมเจ้าเริงจิตร์แจรง อาภากร; ประสูติ: 7 มิถุนายน พ.ศ. 2448 — สิ้นชีพิตักษัย: 19 สิงหาคม พ.ศ. 2536) เป็นพระธิดาพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ประสูติในหม่อมกิม อาภากร ณ อยุธยา ธิดานายตั๊น ซุ่นเพียว หม่อมเจ้าเริงจิตร์แจรง อาภากร เสกสมรสกับหม่อมเจ้าไขแสงรพี รพีพัฒน์ พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีพระธิดาเพียงคนเดียวคือ.

ใหม่!!: รายพระนามเจ้านายไทยที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์และเริงจิตร์แจรง อาภากร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รายพระนามเจ้านายที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์เจ้านายที่ทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »