สารบัญ
16 ความสัมพันธ์: ฟาโรห์ทาฮาร์กาฟาโรห์ปิเยมาโลนาเกนอรามัตเล-โกอัตลาเนอร์ซาอันลามานิอานัลมาเยอาเมินอียิปต์โบราณทะเลเมดิเตอร์เรเนียนประเทศอียิปต์ประเทศซูดานนิวเบียแอฟริกาเหนือแอสเพลตาเซนคามานิสเคน
- กษัตริย์แห่งคุช
- ก่อตั้งในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล
- สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 4
- อาณาจักรคุช
ฟาโรห์ทาฮาร์กา
ทาฮาร์กา, หรือเขียนอีกอย่างว่า ทาฮาร์คา หรือ ทาฮาร์โก (ฮีบรู: תִּרְהָקָה, ฮีบรูปัจจุบัน: Tirhaqa, ไทเบเรี่ยน: Tirehāqā, มาเนโธเรียกว่า ทาราคอส, สตราโบเรียกว่า ทีอาร์โค) เป็นฟาโรห์แห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณในช่วงราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า และพระองค์ยังเป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักร.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและฟาโรห์ทาฮาร์กา
ฟาโรห์ปิเย
ปิเย หรืออาจจะเรียกว่า พิอังค์อิ เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรคุชโบราณและได้ก่อตั้งราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า เป็นผู้ปกครองแห่งอียิปต์ระหว่าง 744-714 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ปกครองอยู่ที่เมืองนาปาตา ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณนิวเบีย หรืออยู่ในประเทศซูดานในปัจจุบัน.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและฟาโรห์ปิเย
มาโลนาเกน
มาโลนาเกน เป็นกษัตริย์ชาวนิวเบียที่ปกครองที่เมืองเมโรอี ซึ่งปกครองในช่วงครึ่งแรกของคริสตศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล โดยใช้พระนามทางการว่า "เซเคมคาเร" พระองค์ถูกสันนิษฐาว่าเป็นพระราชโอรสของกษัตริย์อรามัตเล-โก กับพระนางอมานิตาคาเย แม้ว่าเป็นแค่เพียงสมมติฐาน และพระองค์มีพระมเหสีพระนามว่า ทักทัล ซึ่งได้ถูกฝังอยู่ที่นูริ (Nu.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและมาโลนาเกน
อรามัตเล-โก
อรามัตเล-โก หรือ อัมทัลกา เป็นกษัตริย์ชาวนิวเบียที่ปกครองที่เมืองเมโรอี.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและอรามัตเล-โก
อัตลาเนอร์ซา
อัตลาเนอร์ซา เป็นกษัตริย์ชาวนิวเบีย ซึ่งปกครองระหว่าง 653 ถึง 640 ปีก่อนคริสตกาล เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งผู้ปกครองจากกษัตริย์ทันทามานิ ซึ่งเป็นผู้ปกครองชาวนิวเบียพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ยี่สิบแห่งอียิปต์แห่งอียิปต.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและอัตลาเนอร์ซา
อันลามานิ
อันลามานิ เป็นกษัตริย์แห่งนิวเบียหรือคุช ซึ่งปกครองตั้งแต่ 620 ปีก่อนคริสตกาลและสิ้นพระชนม์เมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล ภายให้การปกครองของพระองค์, อาณาจักรคุชได้เริ่มฟื้นฟูอำนาจขึ้น.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและอันลามานิ
อานัลมาเย
อานัลมาเย เป็นกษัตริย์ชาวนิวเบียที่ปกครองที่เมืองเมโรอีDows Dunham and M. F. Laming Macadam, Names and Relationships of the Royal Family of Napata, The Journal of Egyptian Archaeology, Vol.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและอานัลมาเย
อาเมิน
ทพอาเมิน อาเมิน (Amun หรือ Amen) เป็นสุริยเทพพระองค์หนึ่งและเป็นเทพประจำเมืองธีบิส มักขนานามรวมกับเทพเรเป็นเทพอาเมิน-เรหรืออาเมิน-เร ชาวกรีกเชื่อว่าเทพองค์นี้คือเทพซีอุสของพวก.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและอาเมิน
อียิปต์โบราณ
มมฟิสและสุสานโบราณ อียิปต์โบราณ หรือ ไอยคุปต์ เป็นหนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตอนตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพื้นที่ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงปากแม่น้ำไนล์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์โบราณเริ่มขึ้นประมาณ 3150 ปีก่อนคริตศักราช โดยการรวมอำนาจทางการเมืองของอียิปต์ตอนเหนือและตอนใต้ ภายใต้ฟาโรห์องค์แรกแห่งอียิปต์ และมีการพัฒนาอารยธรรมเรื่อยมากว่า 5,000 ปี ประวัติของอียิปต์โบราณปรากฏขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรือที่รู้จักกันว่า "ราชอาณาจักร" มีการแบ่งยุคสมัยของอียิปต์โบราณเป็นราชอาณาจักร ส่วนมากแบ่งตามราชวงศ์ที่ขึ้นมาปกครอง จนกระทั่งราชอาณาจักรสุดท้าย หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า "ราชอาณาจักรกลาง" อารยธรรมอียิปต์อยู่ในช่วงที่มีการพัฒนาที่ยมาก และส่วนมากลดลง ซึ่งเป็นเวลาเดียวกันที่อียิปต์ชนพ่ายต่อการทำสงครามจากชาติอื่น ดังเช่นชาวอัสซีเรียและเปอร์เซีย จนกระทั่งเมื่อ 332 ปีก่อนคริสตศักราช ก็เป็นการสิ้นสุดอารยธรรมอียิปต์โบราณลง เมื่อพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารถยึดครองอียิปต์ และจัดอียิปต์เป็นเพียงจังหวัดหนึ่งในจักรวรรดิมาซิโดเนีย อารยธรรมอียิปต์พัฒนาการมาจากสภาพของลุ่มแม่น้ำไนล์ การควบคุมระบบชลประทาน, การควบคุมการผลิตพืชผลทางการเกษตร พร้อมกับพัฒนาอารยธรรมทางสังคม และวัฒนธรรม พื้นที่ของอียิปต์นั้นล้อมรอบด้วยทะเลทรายเสมือนปราการป้องกันการรุกรานจากศัตรูภายนอก นอกจากนี้ยังมีการทำเหมืองแร่ และอียิปต์ยังเป็นชนชาติแรกๆที่มีการพัฒนาการด้วยการเขียน ประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้,การบริหารอียิปต์เน้นไปทางสิ่งปลูกสร้าง และการเกษตรกรรม พร้อมกันนั้นก็มีการพัฒนาการทางทหารของอียิปต์ที่เสริมสร้างความแข็งแกร่งแก่ราชอาณาจักร โดยประชาชนจะให้ความเคารพกษัตริย์หรือฟาโรห์เสมือนหนึ่งเทพเจ้า ฟาโรห์มีอำนาจและโหดร้ายมาก ทำให้การบริหารราชการบ้านเมืองและการควบคุมอำนาจนั้นทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ ชาวอียิปต์โบราณไม่ได้เป็นเพียงแต่นักเกษตรกรรม และนักสร้างสรรค์อารยธรรมเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิด, นักปรัชญา ได้มาซึ่งความรู้ในศาสตร์ต่างๆมากมายตลอดการพัฒนาอารยธรรมกว่า 4,000 ปี ทั้งในด้านคณิตศาสตร์, เทคนิคการสร้างพีระมิด, วัด, โอเบลิสก์, ตัวอักษร และเทคนิคโลยีด้านกระจก นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านการแพทย์, ระบบชลประทานและการเกษตรกรรม อียิปต์ทิ้งมรดกสุดท้ายแก่อนุชนรุ่นหลังไว้คือศิลปะ และสถาปัตยกรรม ซึ่งถูกคัดลอกนำไปใช้ทั่วโลก อนุสรณ์สถานที่ต่างๆในอียิปต์ต่างดึงดูดนักท่องเที่ยว นักประพันธ์กว่าหลายศตวรรษที่ผ่านมา ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุใหม่ๆในอียิปต์มากมายซึ่งกำลังตรวจสอบถึงประวัติความเป็นมา เพื่อเป็นหลักฐานให้แก่อารยธรรมอียิปต์ และเป็นหลักฐานแก่อารยธรรมของโลกต่อไป.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและอียิปต์โบราณ
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
ประเทศอียิปต์
รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและประเทศอียิปต์
ประเทศซูดาน
ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและประเทศซูดาน
นิวเบีย
ูมิภาคนิวเบียปัจจุบัน นิวเบีย หรือ นูเบีย (Nubia) เป็นภูมิภาคตามแม่น้ำไนล์ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศซูดานตอนเหนือและประเทศอียิปต์ตอนใต้ เป็นอารยธรรมแรก ๆ ในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือโบราณ โดยสามารถสืบย้อนประวัติศาสตร์มาแต่ 2,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชเป็นต้นมา (ผ่านสิ่งก่อสร้างและสิ่งประดิษฐ์นิวเบีย ตลอดจนบันทึกลายลักษณ์จากอียิปต์และโรม) และเป็นที่ตั้งของจักรวรรดิแห่งหนึ่งของแอฟริกา มีราชอาณาจักรนิวเบียขนาดใหญ่จำนวนหนึ่งตลอดสมัยหลังคลาสสิก ราชอาณาจักรแห่งสุดท้ายล่มสลายใน..
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและนิวเบีย
แอฟริกาเหนือ
นแดนแอฟริกาเหนือ แอฟริกาเหนือ หรือ แอฟริกาตอนเหนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาประกอบไปด้วย 7 ประเทศคือ.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและแอฟริกาเหนือ
แอสเพลตา
แอสเพลตา เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรคุช ซึ่งปกครองระหว่างประมาณ 600 ถึง 580 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ใช้พระนามเช่นเดียวกันกับฟาโรห์แห่งอียิปต.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและแอสเพลตา
เซนคามานิสเคน
ซนคามานิสเคน เป็นกษัตริย์แห่งคุช ปกครองระหว่าง 640 ถึง 620 ปีก่อนคริสตกาลที่เมืองนาปาตา พระองค์ใช้พระนามเช่นเดียวกันกับฟาโรห์แห่งอียิปต.
ดู รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุชและเซนคามานิสเคน
ดูเพิ่มเติม
กษัตริย์แห่งคุช
- รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุช
ก่อตั้งในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล
- รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุช
- เยเรวาน
สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 4
- รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุช
อาณาจักรคุช
- ฟาโรห์ทาฮาร์กา
- ฟาโรห์ปิเย
- รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งคุช
- อักษรเมรอยติก