เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)

ดัชนี รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีม่วงอ่อนบนแผนที.

สารบัญ

  1. 26 ความสัมพันธ์: วัดชนะสงครามวัดช้างล้อมวัดพระพายหลวงวัดพระยืนวัดพระนอนวัดกำแพงงามวัดกำแพงแลงวัดมหาธาตุวัดมุมลังกาวัดราชธานีวัดศรีชุมวัดศรีสวายวัดหนองป่าพงวัดอโศการามวัดจันทร์วัดตระพังทองวัดตะพานหินวัดต้นจันทร์วัดป่าสักวัดป่าเรไรวัดโบสถ์วัดเชตุพนศาลหลักเมืองอำเภอเมืองสุโขทัยจังหวัดสุโขทัยเนินปราสาท

วัดชนะสงคราม

วัดชนะสงคราม อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดชนะสงคราม

วัดช้างล้อม

วัดช้างล้อม อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดช้างล้อม

วัดพระพายหลวง

วัดพระพายหลวง เป็นวัดคณะสงฆ์เถรวาท สังกัดมหานิกาย ตั้งอยู่บริเวณอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย และมีประวัติการก่อสร้างนับตั้งแต่กรุงสุโขทัย เป็นวัดโบราณสถานที่มีพระสงฆ์อยู่อาศัย ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองด้านทิศเหนือ ฝังบริเวณวัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีคูน้ำล้อมรอบ 3 ชั้น คูชั้นนอกเรียก "คูแม่โจน" วัดพระพายหลวงนี้เป็นศูนย์กลางของชุมชนในระยะแรกก่อนการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย โบราณสถานที่เก่าแก่ที่สุดของวัดคือ พระปรางค์ 3 องค์ ก่อด้วยศิลาแลง ลักษณะแผนผังและรูปศิลปะเป็นแบบเขมรบายน สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดพระพายหลวง

วัดพระยืน

วัดพระยืน อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดพระยืน

วัดพระนอน

วัดพระนอน ตั้งอยู่ในเขต ตำบลจองคำ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของตัวเมืองแม่ฮ่องสอน ติดบริเวณเชิงเขาทางขึ้นวัดพระธาตุดอยกองมู ชื่อวัดพระนอน ได้ตั้งชื่ีอให้เหมาะสมกับการที่มีองค์พระนอนที่ใหญ่ที่สุดของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้ประดิษฐานอยู่ในศาลาการเปรียญ(วิหาร)ของวัดพระนอน วัดนี้มีมาอยู่ก่อนแล้ว เดิมทีสถานที่ตั้งของวัดนี้เป็นป่าเขา และเป็นที่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด ต่อมาเมื่อเมืองขยายขึ้นก็กลายเป็นวัดในเมือง วัดพระนอนเป็นวัดที่สำคัญเป็นที่ประดิษฐานองค์พระนอนองค์ใหญ่ ศิลปะแบบไทใหญ่ ขนาดยาว 11 เมตร 99 เซนติเมตร สร้างโดยศรัทธา "พญาสิงหนาทราชา" เจ้าเมืององค์แรกของเมืองแม่ฮ่องสอน ได้รับพระราชทานวิสูงคามสีมา พุทธศักราช 2469 วัดพระนอนแห่งนี้ได้รับการยกย่องและยอมรับนับถือให้เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และเป็นปูชนียสถานคู่บ้านคู่เมืองแม่ฮ่องสอน และเป็นวัดที่มีเจ้าอาวาสอยู่ประจำมาตั้งแต่ พุทธศักราช 2430 จนถึงปัจจุบัน.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดพระนอน

วัดกำแพงงาม

วัดกำแพงงาม เป็นวัดในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่มีประวัติความเป็นวัดที่สร้างเมื่อ..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดกำแพงงาม

วัดกำแพงแลง

วัดกำแพงแลง หรือ วัดเทพปราสาทศิลาแลง ตั้งอยู่ในเขตตำบลท่าราบ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี อยู่ห่างแม่น้ำเพชรบุรีมาทางตะวันออกประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อดั้งเดิมไม่มีผู้ใดทราบแน่ชัด สำหรับชื่อที่เรียกกันว่า “กำแพงแลง” นั้นคงเป็นชื่อที่ผู้คนในสมัยหลังเรียกกันตามลักษณะที่พบเห็น เนื่องจากภายในวัดมีปราสาทเขมรก่อด้วยศิลาแลงและมีกำแพงศิลาแลงล้อมรอบ จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็นที่มาของชื่อวัดนี้ว่า "กำแพงแลง" หมายถึงกำแพงวัดที่ก่อด้วยศิลาแลงนั่นเอง ลักษณะทางกายภาพวัดแห่งนี้แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน และพื้นที่สำหรับการทำสังฆกรรมโดยทั่วไป ส่วนของโบราณสถานจะอยู่ในพื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน โดยมีเขตของกำแพงศิลาแลงกั้น ส่วนพื้นที่ทำสังฆกรรมอยู่นอกเขตกำแพงศิลาแลง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดกำแพงแลง

วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ เป็นชื่อเรียกของวัดที่ที่มีพระสถูปเจดีย์หรือพระปรางค์ที่บรรจุพระอัฐิธาตุของพระพุทธเจ้า อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดมหาธาตุ

วัดมุมลังกา

วัดมุมลังกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกของถนนพระร่วง (ในปัจจุบันถนนพระร่วงถูกลาดยางทับบนแนวถนนเดิม) ไม่ปรากฏหลักฐานประวัติในการสร้าง เนื่องจากมีฐานเจดีย์ใหญ่ซึ่งเข้าใจว่าอาจเป็นเจดีย์ทรงระฆัง นักวิชาการสันนิษฐานว่าอาจเป็น วัดลังการาม ตามที่ปรากฏชื่อในจารึกวัดอโสการาม ที่กล่าวว่าสร้างขึ้นประมาณ..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดมุมลังกา

วัดราชธานี

วัดราชธานี เป็นวัดที่อยู่กลางเมืองสุโขทัย ที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัย เป็นวัดที่มีความสำคัญ ที่ทางราชการ พ่อค้า ประชาชนถือว่าเป็นวัดสำคัญวัดหนึ่งทางราชการได้อาศัยประกอบรัฐพิธี ที่สำคัญ เช่น พิธีถือน้ำพิพัฒนสัตยา อีกทั้งเป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลาง เป็นวัดที่มีพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวสุโขทัยรู้จักกันในชื่อว่า "หลวงพ่อเป๋า" เป็นวัดที่อดีตพระราชประสิทธิ์คุณ (ทิม ยสทินโน) ผู้เป็นกำลังหลักในการรวบรวมศาสนวัตถุทางพระพุทธศาสนาครั้งกรุงสุโขทัย เพื่อจัดมอบให้กับพิพิธภัณฑ์สุโขทัย รวมทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัด และอดีตเจ้าอาวาสวัดราชธานี เคยอยู่อาศัยจำพรรษาที่วัดราชธานีแห่งนี้ นอกจากนี้วัดยังเคยเป็นที่ตั้งโรงเรียนประจำจังหวัดสุโขทัยด้ว.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดราชธานี

วัดศรีชุม

วัดศรีชุม อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดศรีชุม

วัดศรีสวาย

วัดศรีสวาย ตั้งอยู่ห่างออกไปทางตอนใต้ของวัดมหาธาตุประมาณ 350 เมตร โบราณสถานสำคัญที่ตั้งอยู่ในกำแพงแก้ว ประกอบด้วยปรางค์ 3 องค์ รูปแบบศิลปะลพบุรี ลักษณะของปรางค์ค่อนข้างเพรียว ตั้งอยู่บนฐานเตี้ย ๆ ลวดลายปูนปั้นบางส่วนเหมือนลายบนเครื่องถ้วยจีน สมัยราชวงศ์หยวน ได้พบทับหลังสลักเป็นรูปนารายณ์บรรทมสินธุ์ ชิ้นส่วนของเทวรูป และศิวลึงค์ที่แสดงให้เห็นว่าเคยเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดูมาก่อน แล้วแปลงเป็นพุทธสถานโดยต่อเติมวิหารขึ้นที่ด้านหน้า แล้วเป็นวัดในพุทธศาสนาภายหลัง นน วัดศรีสวาย เดิมเป็นเทวสถานในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู ลักษณะเป็นปรางค์สามยอดแบบขอม มีคูน้ำล้อมรอบปรางค์สามองค์ โบราณสถานดังกล่าวนี้มีที่มาจากทรงปราสาทแบบขอม แต่ได้รับการดัดแปลงแตกต่างจากต้นแบบ เช่นส่วนประดับของปราสาทขอมที่เรียกว่า บันแถลง กลายเป็นรูปกลีบขนุน และปูนปั้นประดับกลีบขนุนเป็นรูปครุฑยุดนาคและเทวดา ปรางค์วัดศรีสวายจึงแตกต่างจากปรางค์สมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งมีต้นแบบจาก ปรางค์ในศิลปะขอมและคล้ายคลึงแบบขอมมากกว่าปรางค์ในแบบของช่างสุโขทัย เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเมืองสุโขทัย ทรงพบรูปพระอิศวรและและโบราณวัตถุหินจำหลักเป็นทับหลังรูปพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ รูปพระนารายณ์สี่กร และชิ้นส่วนของเทวรูปและศิวลึงค์ทำด้วยสำริด จึงทรงสันนิษฐานว่า วัดศรีสวายนี้คงเป็นสถานที่พวกพราหมณ์ใช้ทำพิธีโล้ชิงช้า (ตรียัมปวาย) แต่ต่อมาเมื่อคนไทยเข้ามาครอบครองกรุงสุโขทัย วัดนี้จึงถูกดัดแปลงให้เป็นวัดทางพระพุทธศาสน.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดศรีสวาย

วัดหนองป่าพง

วัดหนองป่าพง (วัดป่าพง; Wat Nong Pah Pong) เป็นวัดป่าฝ่ายอรัญวาสี มีจุดเริ่มต้นเมื่อปี..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดหนองป่าพง

วัดอโศการาม

ระธุตังคเจดีย์ วัดอโศการาม วัดอโศการาม มีที่ตั้ง ประมาณ ๕๓ ไร่ และเป็นที่ที่เมื่อประมาณปี..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดอโศการาม

วัดจันทร์

วัดจันทร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านจันทร์ อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ สร้างมานานกว่า 300 ปี มีความโดดเด่น คือ วิหารแว่นตาดำ ลักษณะคล้ายคนสวมแว่นตา และยังเป็นสำนักงานชั่วคราวของที่ว่าการอำเภอกัลยาณิวัฒนา ในช่วงระยะแรกของการจัดตั้งอำเภอ.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดจันทร์

วัดตระพังทอง

วัดตระพังทอง ตั้งอยู่ที่ถนนจรดวิถีถ่อง หมู่ที่ 3 ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 44 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือยาว 5 เส้น 10 วา ติดต่อกับถนนจรดวิถีถ่อง ทิศใต้ยาว 3 เส้น 10 วา ติดต่อกับสวนป่ากล้วยของชาวบ้าน ทิศตะวันออก ยาว 8 เส้น ติดต่อกับหมู่บ้านประชาชน ทิศตะวันตกยาว 8 เส้น ติดต่อกับพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง โดยมี.1 เลขที่ 782 เป็นหลักฐาน พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่ม มีสระน้ำขนาดใหญ่อยู่ที่มุมด้านตะวันตกเฉียงเหนือ และมีสระน้ำโบราณหลายสระบริเวณพื้นที่วัดตั้งอยู่ภายในกำแพงเมืองเก่า สภาพแวดล้อมเป็นหมู่บ้าน ประชาชนและมีถนนหนทางติดต่อคมนาคมสะดวก อาคารเสนาสนะต่าง ๆ มีอุโบสถกว้าง 8.30 เมตร ยาว 15 เมตร สร้าง..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดตระพังทอง

วัดตะพานหิน

ระอัฏฐารส วัดตะพานหิน หรือวัดสะพานหิน วัดตะพานหิน หรือ วัดสะพานหิน ตั้งอยู่นอกเขตกำแพงเมืองเก่าสุโขทัยทางทิศตะวันตก โดยอยู่ในเขตอรัญวาสี หรือวัดป่า วัดนี้ตั้งอยู่บนเนินเขาสูงประมาณ 200 เมตร บริเวณทางเดินขึ้นโบราณสถานมีทางเดินปูลาดด้วยหินชนวนจากตีนเขาขึ้นไปเป็นระยะทาง 300 เมตร สิ่งสำคัญภายในวัด ได้แก่ พระประธานเป็นพระพุทธรูปยืนขนาดใหญ่ เป็นที่ประดิษฐานพระปางประทานอภัย สูง 12.50 เมตร เรียกว่า พระอัฏฐาร.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดตะพานหิน

วัดต้นจันทร์

วัดต้นจันทร์ เป็นวัดในสมัยสุโขทัย ตั้งอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย บริเวณทิศใต้นอกกำแพงเมืองสุโขทัย ปัจจุบันเป็นวัดร้าง มีซากปรักหักพัง ไม่ได้มีการบูรณะ ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน กรมศิลปากร โบราณสถานประกอบด้วย เจดีย์ประธานทรงระฆังขนาดใหญ่ก่อด้วยอิฐ มีคูหาหรือซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 ทิศ ส่วนยอดปล้องไฉนหักพังเหลือแต่องค์ระฆังเท่านั้น ด้านตะวันออกของเจดีย์มีวิหารก่ออิฐ มีเสาศิลาแลงรองรับหลังคามุงกระเบื้อง และยังปรากฏร่องรอยพระพุทธรูปประทับนั่งขนาดใหญ่ตั้งอยู่ภายในวิหาร วัตถุโบราณที่มีชื่อเสียงที่มาจากวัดต้นจันทร์คือ พระสมเด็จนางพญาเสน่ห์จันทร์ ซึ่งพบเมื่อกองโบราณคดี กรมศิลปากร เข้าทำการอนุรักษ์เจดีย์ภายในวัดที่พังทลายลงมา พบกรุพระจำนวนมาก พระสมเด็จนางพญาเสน่ห์จันทร์มีกลิ่นหอมของว่านนางพญาเสนห์จันทร์ จึงตั้งชื่อว่า พระสมเด็จนางพญาเสน่ห์จันทร.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดต้นจันทร์

วัดป่าสัก

วัดป่าสัก สามารถหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดป่าสัก

วัดป่าเรไร

วัดป่าเรไร เป็นวัดร้างเดิมที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งโบราณคดีทางประวัติศาสตร์ที่มาพร้อมกับชุมชนดั้งเดิมในอดีต ที่สามารถสืบค้นบอกเล่าถึงประวัติศาสตร์ชุมชน การตั้งถิ่นฐาน กลุ่มชาติพันธุ์ ความเชื่อและศาสนา ที่ปรากฏมีในครั้งอดีตเชื่อมต่อมาถึงปัจจุบันได้ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านสวนใต้ หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทั.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดป่าเรไร

วัดโบสถ์

วัดโบสถ์ เป็นชื่อของวัดและสถานที่ต่าง ๆ ดังนี้.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดโบสถ์

วัดเชตุพน

วัดเชตุพน อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และวัดเชตุพน

ศาลหลักเมือง

ศาลหลักเมือง คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อันเป็นที่ตั้งของหลักเมือง ซึ่งตามธรรมเนียมพิธีของศาสนาพราหมณ์,ศาสนาพื้นบ้านแบบจีนหรือลัทธิเต๋าว่า ก่อนที่จะสร้างเมืองจะต้องทำพิธียกเสาหลักเมืองในที่อันเป็นชัยภูมิสำคัญ เพื่อเป็นสิริมงคลแก่บ้านเมืองที่จะสร้างขึ้น ศาลหลักเมืองในประเทศไทยส่วนใหญ่ทำจากไม้มงคล เช่น ชัยพฤกษ์ ราชพฤกษ์ ในลักษณะเสา ปลายยอดเป็นดอกบัวตูม หรือหน้าเทวดา หรืออาจเป็นหลักหินโบราณ ใบเสมาโบราณ ที่พบในพื้นที่นั้นๆ ตัวศาลส่วนใหญ่เป็นศาลาจตุรมุขทรงไทย มีประตูทั้งสี่ด้าน ยอดอาจเป็นแบบปรางค์ แบบปราสาท แบบมณฑป หรือเป็นศาลเจ้าแบบจีน ตามศรัทธาการก่อสร้างในพื้นที่นั้น บางพื้นที่อาจพบร่วมกันทั้งเสาหลักเมือง และศาลเจ้าแบบจีน ซึ่งมักมีองค์ประธานศาลเจ้าเป็นเทวรูปไม้หรือศิลา เรียกว่า เจ้าพ่อหลักเมือง หรือเจ้าแม่หลักเมือง สถานที่ตั้งส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชุมชนเมืองเก่า อาจเป็นตัวจังหวัด หน้าศาลากลางจังหวัด ในประเทศไทยจังหวัดส่วนใหญ่มีศาลหลักเมือง บางอำเภอก็มีศาลหลักเมือง ซึ่งยังคงเรียกว่า ศาลหลักเมืองเนื่องจากบางอำเภอก็เป็นเมืองเก่า ก่อนถูกลดฐานะลงเป็นอำเภอในปัจจุบัน ตามชุมชนเล็กๆ อื่นๆ ก็อาจมีศาลประจำชุมชนเหมือนกัน แต่จะเรียกเป็นศาลหรือเจ้าที่ประจำหมู่บ้าน ชุมชน *.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และศาลหลักเมือง

อำเภอเมืองสุโขทัย

อำเภอเมืองสุโขทัย เป็นศูนย์กลางการบริหารราชการ ศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดสุโขทั.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และอำเภอเมืองสุโขทัย

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และจังหวัดสุโขทัย

เนินปราสาท

ซิสเตอรงที่ตั้งอยู่เหนือตัวเมืองที่ตั้งอยู่ต่ำลงมารอบ ๆ ปราสาท โวบ็อง ซิทาเดลลาที่ตั้งอยู่บนเนินเหนือแม่น้ำดานูบที่บูดาเปสต์ในฮังการี เนินปราสาท (citadel) คือป้อมปราการสำหรับป้องกันเมือง บางครั้งก็จะมีปราสาทรวมอยู่ด้วย หรือบางครั้งก็อาจจะหมายถึงบริเวณที่สูงที่สุดของตัวเมือง ในภาษาอังกฤษคำว่า "citadel" มีรากจากภาษาละตินเช่นเดียวกับคำว่า "city" ว่า "civis" ที่แปลว่า "พลเมือง" ในระบบป้อมปราการที่มีมุขป้อมยื่นออกไป เนินปราสาทคือส่วนที่มั่นคงที่สุดของระบบ บางครั้งก็จะตั้งลึกเข้าไปจากกำแพงนอกและมุขป้อม แต่ก็มักจะมีส่วนหนึ่งที่ติดกับกำแพงด้านนอกเพื่อเป็นการประหยัดการสร้างกำแพงใหม่สำหรับตัวสิ่งก่อสร้างหลัก เนินปราสาทจะเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายถ้าข้าศึกสามารถบุกเข้าในปราสาทจากกำแพงชั้นต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่รอบนอกได้ นอกจากนั้นในยุคกลาง "เนินปราสาท" เป็นคำที่ใช้เรียกส่วนที่สามของปราสาทที่มีกำแพงที่สูงกว่ากำแพงอื่น ๆ ของเมือง ซึ่งเป็นที่มั่นสุดท้ายของระบบการป้องกันก่อนที่จะถึงตัวหอกลาง โครงสร้างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ทราบที่ใช้เป็นเนินปราสาทสร้างในสมัยอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุเมื่อเนินปราสาทถือว่าเป็นศูนย์กลางของการบริหาร แต่วัตถุประสงค์ของโครงสร้างก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แม้ว่าโครงสร้างที่พบที่ซากโมเฮนโจ-ดาโร (ภาษาสินธี: मोइन जो दड़ो) หรือ "เนินมรณะ" จะเป็นโครงสร้างที่มีกำแพงล้อมรอบ แต่ก็ไม่เป็นที่ชัดแจ้งว่าจะเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อการป้องกันการโจมตีจากข้าศึกหรือไม่ ข้อสันนิษฐานข้อหนึ่งคือเป็นกำแพงที่สร้างขึ้นเพื่อเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสน้ำท่วม ในสมัยกรีกโบราณ เนินปราสาทอะโครโพลิสตั้งเด่นอยู่บนเนินสูงที่มองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้แต่ไกล อะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ประกอบด้วยสถานที่สำหรับหลบภัย และ ที่มั่น ที่เป็นที่เก็บเสบียงและอาวุธ, เทวสถานสำหรับเทพเจ้า และ พระราชวัง อะโครโพลิสที่มีชื่อเสียงที่สุดคืออะโครโพลิสแห่งเอเธนส์ แต่อะโครโพลิสเป็นองค์ประกอบของการสร้างเมืองแทบทุกเมืองในสมัยกรีกโบราณ เช่นอะโครโพลิสแห่งคอรินท์ (Acrocorinth) ที่มีชื่อเสียงว่ามีระบบป้อมปราการที่มั่นคงที่แข็งแรง ในสมัยต่อมาเมื่อกรีซปกครองโดยจักรวรรดิละติน องค์ประกอบนี้ก็ได้รับการนำไปใช้โดยผู้ปกครองใหม่โดยมีวัตถุประสงค์เช่นเดียวกัน เนินปราสาทมีชื่อเรียกกันไปต่าง ๆ ในแต่ละภูมิภาคเช่น "เครมลิน" (kremlin) ในรัสเซีย หรือ "อัลกาซาร์" (alcázar) ในคาบสมุทรไอบีเรีย ในเมืองในยุโรปคำว่า "citadel" และ "city castle" มักจะใช้สลับความหมายกันได้ หรือบางครั้งก็อาจจะใช้คำว่า "tower" แทนได้เช่น ทาวเวอร์ออฟลอนดอน หรือ ทาวเวอร์ออฟเดวิดในเยรูซาเลม ในช่วงระยะเวลาต่าง ๆ โดยเฉพาะในยุคกลาง เนินปราสาทที่มีระบบการป้องกันทางการทหารอิสระจากกำแพงเมืองเป็นระบบการป้องกันขั้นสุดท้ายของข้าศึกที่มาล้อมเมือง เมืองจะเสียก็ต่อเมื่อเสียเนินปราสาท เช่นในปี..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย (อำเภอเมือง)และเนินปราสาท

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย/อำเภอเมือง