สารบัญ
6 ความสัมพันธ์: วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหารวัดแจ้งวรวิหารวัดโมคลานวัดเขาขุนพนมจังหวัดนครศรีธรรมราชโบสถ์พราหมณ์
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดพระบรมธาตุวรมหาวิหาร หรือ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร
วัดแจ้งวรวิหาร
วัดแจ้งวรวิหาร ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 23 ถนนราชดำเนิน ตำบลท่าวัง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นพระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ เป็นวัดโบราณสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร.
ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดแจ้งวรวิหาร
วัดโมคลาน
นที่ตั้ง ตั้งอยู่ ณ บ้านโมคลาน หมู่ที่ ๑๒ ตำบลโมคลาน อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช ประวัติความเป็นมา “ตั้งดินตั้งฟ้า ตั้งหญ้าเข็ดมอญ โมคลานตั้งก่อน เมืองคอนตั้งหลัง ข้างหน้าพระยัง ข้างหลังพระภูมิ ศรีมหาโพธิ์ เจ็ดโบสถ์แปดวิหาร เก้าทวารสิบเจดีย์” บทกลอนนี้แสดงให้เห็นความเก่าแก่ของบ้านโมคลานซึ่งเป็นชุมชนโบราณ ที่มีอายุประมาณ ๔,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว ได้มีการศึกษาสำรวจชุมชนโมคลานตั้งแต..๒๕๐๐ พบหลักฐานทางโบราณคดีที่เกี่ยวเนื่องกับอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย ใน..
ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดโมคลาน
วัดเขาขุนพนม
วัดเขาขุนพนม ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตำบลบ้านเกาะ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช บริเวณเชิงเขาขุนพนม เป็นวัดเก่าแก่ สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยอาณาจักรนครศรีธรรมราช ราวพุทธศตวรรษที่ 18 ถึงพุทธศตวรรษที่ 20 มีตำนานท้องถิ่นเล่าขานว่า วัดเขาขุนพนมนี้ เป็นวัดที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เสด็จมาประทับ และจำพรรษาในฐานะพระภิกษุ หลังจากสิ้นรัชกาลกรุงธนบุรี เป็นเวลา 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.
ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชและวัดเขาขุนพนม
จังหวัดนครศรีธรรมราช
นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.
ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดนครศรีธรรมราช
โบสถ์พราหมณ์
ราหมณ์ หมายถึง เทวสถานที่ใช้ประกอบพิธีกรรมของศาสนาฮินดู มีพราหมณ์เป็นผู้ดูแลและประกอบพิธี.
ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชและโบสถ์พราหมณ์
หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดนครศรีธรรมราชที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากร