เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรี

ดัชนี รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรี

กาญจนบุรี หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรี หมวดหมู่:จังหวัดกาญจนบุรี.

สารบัญ

  1. 15 ความสัมพันธ์: บ้านเก่าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่ากลอนโดวัดบ้านทวนวัดพระแท่นดงรังวรวิหารวัดป่าเลไลยก์อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์จังหวัดกาญจนบุรีถ้ำขุนแผนถ้ำเรือด่านเจดีย์สามองค์ค่ายฝึกเขาชนไก่แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรเมืองสิงห์เจดีย์ยุทธหัตถี

บ้านเก่า

้านเก่า อาจหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและบ้านเก่า

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า

ัณฑ์สถานแห่งชาติบ้านเก่า อยู่ที่ตำบลบ้านเก่า ริมฝั่งแม่น้ำแควน้อย เขตอำเภอเมืองกาญจนบุรี อยู่ห่างจากตัวเมืองประมาณ 35 กิโลเมตร บ้านเก่าเป็นแหล่งอารยธรรมก่อนประวัติศาสตร์ที่สำคัญของโลก ในระหว่าง..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า

กลอนโด

มืองกลอนโด เมืองกลอนโด ตั้งอยู่ บริเวณหมู่ 2 บ้านกลอนโด ตำบลกลอนโด อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี ตำบลกลอนโด ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อปี พ.ศ.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและกลอนโด

วัดบ้านทวน

thumb วัดบ้านทวน ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 ตำบลพนมทวน อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 28 ไร่ 3 งาน 50 ตารางวา วัดบ้านทวน ตั้งเมื่อ พ.ศ.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและวัดบ้านทวน

วัดพระแท่นดงรังวรวิหาร

วัดพระแท่นดงรัง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี จาก กรุงเทพฯ ไปตามทางหลวงหมายเลข 323 ถึงบริเวณแยกตลาดท่าเรือ เลี้ยวขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 3081 ระหว่างกิโลเมตรที่ 9-10 สถานที่แห่งนี้เป็นวัดโบราณซึ่งมีแท่นหินขนาดใหญ่ ที่มีตำนานที่แต่งขึ้นในภายหลังเพื่อเป็นเครื่องเจริญศรัทธากล่าวไว้ว่าเป็นพระแท่นศักดิ์สิทธิ์ที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน หรือเป็นปูชนียสถานจำลองเครื่องหมายเหตุการณ์ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ณ สาลวโนทยาน ประเทศอินเดีย พระแท่นบรรทมของวัดนี้ จึงเป็นพระแท่นจำลอง สร้างเป็นหินแท่งทึบหน้าลาดรูปคล้ายแท่นหรือเตียงนอน เดิมมีต้นรังอยู่ริมพระแท่นข้างละต้น โน้มยอดเข้าหากัน ในบริเวณวัดยังมีโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติ เช่น บ่อบ้วนพระโอษฐ์ วิหารพระอานนท์ ฯลฯ และยังมีพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ทุก ๆ ปีประมาณกลางเดือน 4 ของไทยจะมีงานนมัสการอย่างยิ่งใหญ.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและวัดพระแท่นดงรังวรวิหาร

วัดป่าเลไลยก์

วัดป่าเลไลยก์ สามารถหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและวัดป่าเลไลยก์

อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

ปรางค์ประธาน โบราณสถานหมายเลข 1 อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ของประเทศไทย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำแควน้อยทางทิศเหนือในเขตตำบลสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี แวดล้อมด้วยทิวเขาเป็นแนวยาวอยู่โดยรอบ ลักษณะผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กำแพงเมืองก่อด้วยศิลาแลง กว้างประมาณ 800 เมตร หมายถึงส่วนกว้างของเมือง ยาวประมาณ 850 เมตร และกำแพงสูง 7 เมตร มีประตูเข้าออก 4 ด้าน มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ ภายในเมืองมีสระน้ำ 6 สร.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี

ถ้ำขุนแผน

้ำขุนแผน (Khun Phaen Cave) หรือถ้ำพุพระ (Phu Phra Cave) เป็นถ้ำขนาดใหญ่อยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำแควใหญ่ ในเขตตำบลหนองบัว อำเภอเมืองกาญจนบุรี บนถนนกาญจนบุรี - ไทรโยค ห่างจากเมืองกาญจนบุรีประมาณ 15 กิโลเมตร โดยอยู่เยื้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีเล็กน้อย แต่เดิมมีชื่อว่า ถ้ำพุพระ เพราะมีการพบพระพิมพ์รุ่นเก่าจำนวนหนึ่ง ต่อมามีการจัดตั้งวัดขึ้นจึงเปลี่ยนชื่อมาเป็นวัดถ้ำขุนแผน ถ้ำพุพระเป็นถ้ำขนาดใหญ่อยู่สูงจากพื้นราบประมาณ 100 เมตร มีบันไดคอนกรีตประมาณ 190 ขั้น จากพื้นราบจนถึงปากถ้ำ ภายในถ้ำพบหินงอกหินย้อยสวยงาม นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปชมถ้ำพุพระได้ตามเส้นทางรถยนต์สาย กาญจนบุรี - ไทรโยค ระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตรจากตัวเมืองแล้วเลี้ยวซ้ายเข้าตามถนนลูกรังอีกประมาณ 1 กิโลเมตร.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและถ้ำขุนแผน

ถ้ำเรือ

''ลักษณะทางธรณีและเส้นทางน้ำภายในถ้ำ'' ถ้ำเรือเป็นถ้ำในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าผาท่าพล ภูเขาผาท่าพล การที่ได้ชื่อว่าถ้ำเรือก็เพราะว่า ภายในถ้ำพบรูปรอยคล้ายเรือคว่ำอยู่บนเพดานถ้ำ ซึ่งการเกิดรูปรอยเรือคว่ำบนเพดานถ้ำนั้น เกิดจากถ้ำแห่งนี้มีน้ำท่วมซ้ำแล้วซ้ำเล่าทำให้ผนังถ้ำที่เป็นหินปูนมีการละลายซ้ำ ส่วนไหนที่ละลายได้ง่ายก็จะขยายกว้างขึ้น จนดูคล้ายรูปเรือคว่ำในที่สุด บริเวณหน้าถ้ำเรือ สามารถเห็นสังคมป่าภูเขาหินปูนได้โดยง่าย ซึ่งพืชบริเวณนี้จะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง พันธ์ไม้พื้นล่างในส่วนที่อยู่ริมน้ำมีความชื้นสูง จะเป็นพันธ์ไม้ที่ขึ้นในป่าดงดิบ เช่นหวายขม พันธ์ไม้พื้นล่างที่มีหน้าดินตื้นมีหินมาก กลับเป็นพวกหญ้า เถาวัลย์หนาม และงิ้วป่า เป็นไม้เบิกนำ เมื่อมองสูงขึ้นไปจะเห็นพันธ์ไม้ที่สามารถขึ้นในที่แล้งได้ เช่น สลัดได ที่มีลำต้นคล้ายตะบองเพชร พืชเหล่านี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า สังคมพืชป่าภูเขาหินปูนมีความหลากหลายของชนิดพันธ์ไม้ ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ ความชื้นในดิน และแสงสว่าง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและถ้ำเรือ

ด่านเจดีย์สามองค์

ป้ายด่านเจดีย์สามองค์ ด่านเจดีย์สามองค์ (ဘုရားသုံးဆူ တောင်ကြားလမ်း) เป็นช่องเขาในทิวเขาตะนาวศรี ตั้งอยู่บนพรมแดนประเทศไทยและประเทศพม่า มีความสูง 282 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและด่านเจดีย์สามองค์

ค่ายฝึกเขาชนไก่

อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ค่ายฝึกเขาชนไก่ เป็นสถานที่ฝึกภาคสนามของนักศึกษาวิชาทหาร สังกัดหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน กองทัพบกไทย ตั้งอยู่ตำบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3199 (กาญจนบุรี–เขื่อนศรีนครินทร์) อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 150 กิโลเมตร ในเวลาที่ไม่มีการฝึกจะเปิดเป็นค่ายฝึกสำหรับประชาชนทั่วไปมีกิจกรรมเช่น การโดดหอสูง การยิงปืน การไต่เชือกข้ามลำน้ำ ชมพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ โดยในช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์ของทุกปีจะเป็นค่ายฝึกนักศึกษาวิชาทหาร ค่ายฝึกเขาชนไก่ได้เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมได้ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2543 ชื่อ "เขาชนไก่" เชื่อว่าเป็นบ้านเดิมของขุนไกร พ่อของขุนแผน เป็นสถานที่ที่นางทองประศรี แม่ของขุนแผนพาขุนแผนหรือพลายแก้ว เมื่อครั้งยังเด็กมาหลบราชภัย เข้ามาตั้งรกรากอยู่ที่ "ดอนเขาชนไก่" บนยอดเขาชนไก่มีลานกว้าง มีหลักหินแสดงบริเวณอยู่ เชื่อกันว่า เป็นลานชนไก่ของขุนแผน โดยขุนแผนหลังเข้ารับราชการและได้รับตำแหน่งเลื่อนขึ้นเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี หรือ พระสุรินททร์ฤๅชัย ชาวบ้านจึงได้สร้างศาล"เจ้าพ่อเขาชนไก"่ ขึ้นมาสักการะ ในปี..

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและค่ายฝึกเขาชนไก่

แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร

แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร อยู่ที่บ้านดอนตาเพชร ที่อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี มีหลายอย่างซึ่งเป็นหลักฐานที่ยืนยันว่าบ้านดอนตาเพชรคือบริเวณที่ตะวันตกและตะวันออกมาพบกัน แบบอย่างที่มาจากทางตาวันออกที่พบที่นี่คือตุ้มหูและจี้ห้อยคอ หรือ ลิง-ลิง-โอ เป็นรูปสัตว์ที่มีเขาสองหัวสำหรับห้อยคอ และตุ้มหูที่มียอดแหลมประดับสามยอด ที่เป็นเหมือนเครื่องประดับทั่วไปในบริเวณเอเชียตะวันออก ซึ่งพบว่าเป็นโบราณวัตถุชนิดนี้เป็นวัตถุชิ้นหนึ่งซึ่ง พวกซาหวีนในเวียดนามปัจจุบันใช้กันมาก ซึ่งนี่เองที่เป็นหลักฐานสำคัญว่าพื้นที่บริเวณนี้มีการติดต่อสัมพันธ์กับภายนอกทางทะเลที่มีความเก่าแก่ นอกจากนี้จี้ห้อยคออีกชนิดหนึ่งที่พบคือจี้ห้อยคอรูปสิงห์เผ่น ซึ่งเป็นแบบอย่างมาจากทางตะวันตกคืออินเดีย นอกจากนี้ลูกปัดหินสีที่พบบริเวณนี้ยังพบในแถมอินเดียอีกด้วย อาจสรุปได้ว่าแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชรเคยเป็นชุมชนโบราณที่มีการติดต่อทางทะเลกับทั้งอินเดียและทางตะวันออก แหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร ค้นพบครั้งแรก เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและแหล่งโบราณคดีบ้านดอนตาเพชร

เมืองสิงห์

มืองสิงห์ สามารถหมายถึง.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและเมืองสิงห์

เจดีย์ยุทธหัตถี

thumb เจดีย์ยุทธหัตถี ตั้งอยู่ที่บ้านดอนเจดีย์ หมู่ที่ 2 ตำบล ดอนเจดีย์ อำเภอ พนมทวน จังหวัด กาญจนบุรี ปัจจุบันเชื่อกันว่าเป็นเจดีย์ยุทธหัตถี ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงสร้างขึ้นหลังจากที่พระองค์ ทรงกระทำยุทธหัตถีชนะสมเด็จพระมหาอุปราชา กษัตริย์แห่งพม่า ภายในมี อาคารนิทรรศการสมเด็จพระนเรศวร ซึ่งจัดแสดงประวัติและแผนที่ ที่เกี่ยวกับการรบในครั้งนั้น องค์เจดีย์เป็นศิลปะแบบอยุธยา เป็นเจดีย์ทรงกลม ก่ออิฐฉาบปูน ส่วนยอดหักพังไปตามกาลเวลา จนปัจจุบันมีความสูงราว 3 เมตร เจดีย์องค์นี้ตั้งอยู่ในที่ดอน ล้อมรอบด้วยป่าละเมาะเป็นบริเวณกว้าง มีแม่น้ำทวนไหลผ่านในบริเวณ ปัจจุบันสร้างเป็นรูปวงเวียน มีถนนภายในแบ่งเป็น 8 ด้าน มีพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรขณะกำลังประทับบนหลังช้างศึกอยู่ด้านหน้าองค์เจดีย์ ได้รับการขึ้นทะเบียนรับรองเป็นโบราณสถาน เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีและเจดีย์ยุทธหัตถี

หรือที่รู้จักกันในชื่อ รายชื่อโบราณสถานในจังหวัดกาญจนบุรีที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากร