โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการ

ดัชนี รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการ

รือบรรทุกเครื่องบินและเฮลิคอปเตอร์ของแต่ละประเทศ This is a รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบิน which are currently in service or reserve, or being constructed or rebuilt.

11 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษกองทัพเรือสหรัฐยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน (CVN-73)ยูเอสเอส นิมิตซ์ (CVN-68)ยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด (CVN-78)เรือบรรทุกอากาศยานเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคิตตีฮอว์คเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิงเรือหลวงจักรีนฤเบศร

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือสหรัฐ

ระวังสับสนกับ กระทรวงทหารเรือสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐ (อังกฤษ: United States Navy, USN) เป็นกองกำลังทางทะเลในสังกัดกองทัพสหรัฐ และหนึ่งในเจ็ดองค์กรในเครื่องแบบของสหรัฐ กองทัพเรือสหรัฐเป็นกองทัพเรือที่ใหญ่ และมีความสามารถมากที่สุดในโลก โดยมีขนาดกองเรือตามน้ำหนักที่มากที่สุด กองทัพเรือสหรัฐมีกองเรือบรรทุกอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยมีเรือบรรทุกอากาศยาน 10 ลำในสถานะประจำการ อีก 2 ลำในสถานะกองเรือสำรอง และกำลังก่อสร้างเรือบรรทุกอากาศยานใหม่อีก 3 ลำ กองทัพเรือสหรัฐมีกำลัง 323,792 นายในสถานะประจำการ และอีก 108,515 นายในกองทัพเรือสำรอง มีเรือรบพร้อมประจำการ 274 ลำ และมีอากาศยานที่ใช้การได้มากกว่า 3,700 ลำ ตามข้อมูลในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและกองทัพเรือสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน (CVN-73)

รือบรรทุกเครื่องบิน ยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน ยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน (USS George Washington (CVN 73)) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินพลังงานนิวเคลียร์ลำดับที่ 6 ในกลุ่มเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ และเรือรบลำที่ 4 ของกองทัพเรือ ที่ตั้งชื่อตามประธานาธิบดี จอร์จ วอชิงตัน เรือลำนี้เข้าประจำการเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและยูเอสเอส จอร์จ วอชิงตัน (CVN-73) · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอส นิมิตซ์ (CVN-68)

ูเอสเอส นิมิตซ์ เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกาและเป็นเรือนำในชั้นเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ นิมิตซ์เป็นหนึ่งในเรือรบที่ใหญ่ที่สุดของโลก ในตอนนิมิตซ์วางกระดูกงู ปล่อยลงน้ำและขึ้นระวางได้ใช้รหัสเรือ CVAN-68 แต่ได้เปลี่ยนเป็น CVN-68 ในวันที่ 30 มิถุนายน 1975 ชื่อเรื่อ ยูเอสเอส นิมิตซ์ ได้มาจากผู้บัญชาการกองทัพเรือภาคพื้นแปซิฟิกในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง Chester W. Nimitz โดยนิมิตซ์เป็นเรือลำเดียวในชั้นเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ที่ใช้นามสกุลเป็นชื่อเรือ ยูเอสเอส นิมิตซ์ได้ประจำการที่ฐานทัพเรือนอร์ฟอล์คจนกระทั่งปี 1987 ได้ย้ายไปยัง Puget Sound Naval Shipyard ในวอชิงตัน ในปี 2001 นิมิตซ์ได้ย้ายไปยัง NAS North Island ในซานดิเอโก้ แคลิฟอร์เนีย และได้ย้ายครั้งสุดท้ายปี..

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและยูเอสเอส นิมิตซ์ (CVN-68) · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด (CVN-78)

ูเอสเอส เจอรัลด์ อาร.

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด (CVN-78) · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกอากาศยาน

รือหลวงจักรีนฤเบศร 6, showing size differences of late 20th century carriers 6 เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ โดยปกติเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของกองทัพเรือสหรัฐ 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปลี่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป.

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและเรือบรรทุกอากาศยาน · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์

รือยูเอสเอสบอกเซอร์ของกองทัพเรือสหรัฐ เป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ชั้นวาสป์ เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ เป็นเรือบรรทุกอากาศยานที่มีหน้าที่หลักในการใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก นอกจากนี้เครื่องบินบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ยังได้ถูกใช้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานต่อต้านเรือดำน้ำและเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบกอีกด้วย เรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์สามารถมีความยาวของดาดฟ้าเรือเต็มที่ได้เท่ากับเรือรบหลวงโอเชี่ยนของราชนาวีอังกฤษหรือมีลานจอดขนาดใหญ่สำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งส่วนมากจะอยู่ที่กราบเรือ เหมือนกับเรือชั้นมอสคาว่าของกองทัพเรือโซเวียตหรือเรืออาร์กัสของกองเรือหลวงสนับสนุนของราชนาวีอังกฤษ ดาดฟ้าเรือที่มีความยาวเต็มที่นั้นออกแบบมาเพื่อให้มีพื้นที่ในการลงจอดสำหรับเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งการออกแบบดังกล่าวยังถูกนำเอาไปใช้ในโรงเก็บอากาศยานบนเรืออีกด้วย การนิยามเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์แบบแท้จริงในศตวรรษที่ 21 นั้นนับว่าเป็นเรื่องยาก นั้นก็เพราะมีการสร้างอากาศยานปีกนิ่งที่ลงจอดในแนวดิ่งขึ้นมา เช่น แฮริเออร์จัมพ์เจ็ท ซึ่งมีการจัดชนิดที่ซับซ้อน ตัวอย่างเช่น ในกรณีของเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบกชั้นวาสป์ของนาวิกโยธินสหรัฐ ที่บรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์ 6-8 ลำ พร้อมกับเฮลิคอปเตอร์อีก 30 ลำ ดังนั้นจึงมีแค่เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็กที่ไม่สามารถบรรทุกเครื่องบินแฮริเออร์และเรือบรรทุกอากาศยานยุคก่อนการสร้างเครื่องบินแฮริเออร์เท่านั้นที่จัดได้ว่าเป็นเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์อย่างแท้จริง ในหลายกรณี เรือบรรทุกอากาศยานที่สามารถบรรทุกเครื่องบินปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งได้นั้นจะถูกจัดเป็นเรือบรรทุกอากาศยานขนาดเล็ก เรือแบบอื่นๆ อย่างเรือชั้นวาสป์นั้นสามารถบรรทุกทหารราบและส่งพวกเขาขึ้นบกได้ เรือดังกล่าวจึงถูกจัดว่าเป็นเรือโจมตีสะเทื้อนน้ำสะเทื้อนบก เรือเอชเอ็มเอสโอเชียนของกองทัพเรือสหราชอาณาจักร เรือรบหลวงเฮอร์เมสและเรือพี่น้องของมันอีกสองลำเป็นกองเรือบรรทุกอากาศยานขนาด 20,000 ตันที่ถูกเปลี่ยนให้เป็นเรือบรรทุกอากาศยานคอมมานโดที่บรรทุกเพียงแต่เฮลิคอปเตอร์เท่านั้น ต่อมาเรือเฮอร์เมสได้ถูกเปลี่ยนเป็นเรือบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งขึ้นลงในแนวดิ่งแทน เรือ ฮีวงะ (16DDH) ของกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น เรือ ROKS Dokdo (LPH 6111) ของกองทัพเรือเกาหลีใต้.

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและเรือบรรทุกเฮลิคอปเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคิตตีฮอว์ค

ูเอสเอส คิตตีฮอว์ค (CV-63) ลำขวา จอดเทียบกับยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์ (CV-62) เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นฟอร์เรสตัล ลำซ้าย ที่ท่าเรือเพิร์ล เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคิตตีฮอว์ค (Kitty Hawk class aircraft carrier) เป็นชั้นของเรือบรรทุกเครื่องบินขับเคลื่อนด้วยกังหันไอน้ำของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา พัฒนามาจากเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นฟอร์เรสตัล ตั้งชื่อตามชื่อเรือลำแรกในชั้น คือ ยูเอสเอส คิตตีฮอว์ค (CV-63) ซึ่งมาจากชื่อเมืองคิตตีฮอว์ค รัฐนอร์ทแคโรไลนา สถานที่ซึ่งพี่น้องไรต์ทดสอบเครื่องบินเป็นครั้งแรกเมื่อ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1903 เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคิตตีฮอว์คประกอบด้วยเรือจำนวน 4 ลำ ที่ประจำการตั้งแต่ทศวรรษ 1960 ปัจจุบันเรือทั้งสี่ลำถูกปลดประจำการหมดแล้ว ได้แก.

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคิตตีฮอว์ค · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์

รือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ (Nimitz class aircraft carrier) เป็นชั้นของเรือบรรทุกเครื่องบินพลังงานนิวเคลียร์ที่เป็นกำลังหลักของกองทัพเรือสหรัฐ เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์เป็นเรือรบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสร้างกันมาด้วยความยาวกว่า 333 เมตร ระวางขับน้ำถึง 100,000 ตัน สามารถปฏิบัติงานได้นานถึง 20 ปีโดยที่ไม่ต้องเติมเชื้อเพลิงเลย โดยเรือถูกออกแบบมาให้ใช้งานได้นาน 50 ปี.

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง

รือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง (中国人民解放军海军辽宁舰; Liaoning) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินลำแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน เรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง เดิมชื่อว่า เรือบรรทุกเครื่องบินวาร์ยัก (Варяг; Varyag) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นคุซเนตซอฟของโซเวียต ต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือที่เมืองไมโคเลฟ ติดทะเลดำ ทางตอนใต้ของยูเครน ปล่อยลงน้ำเมื่อปี..

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและเรือบรรทุกเครื่องบินเหลียวหนิง · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

รือหลวงจักรีนฤเบศร (HTMS Chakri Naruebet; ย่อ: CVH-911) เป็นเรือธงและเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกและลำเดียวของราชนาวีไทย ประจำการในส่วนกำลังรบของกองทัพเรือ เป็นเรือที่ต่อขึ้นจากประเทศสเปน โดยนำแบบมาจากเรือ ปรินซีเปเดอัสตูเรียส (Principe de Asturias) ของกองทัพเรือสเปน โดยปรับปรุงระบบขับเคลื่อน ระบบควบคุมการบิน ระบบอาวุธ และลดระวางขับน้ำลงเหลือสองในสาม ขึ้นระวางประจำการเมื่อ วันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: รายชื่อเรือบรรทุกเครื่องบินในประจำการและเรือหลวงจักรีนฤเบศร · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »