สารบัญ
69 ความสัมพันธ์: ชั่วฟ้าดินสลายบางระจัน (ภาพยนตร์)กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อนกันตนากาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ก้านกล้วยมหา'ลัย เหมืองแร่มือปืน 2 สาละวินรัก-ออกแบบไม่ได้รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508รุกขเทวดาลุงบุญมีระลึกชาติลูกอีสานหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้นทองคำขยี้ข้างหลังภาพครูสมศรีความรักครั้งสุดท้ายคืนบาป พรหมพิรามคู่กรรม... ขยายดัชนี (19 มากกว่า) »
ชั่วฟ้าดินสลาย
ั่วฟ้าดินสลาย เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและชั่วฟ้าดินสลาย
บางระจัน (ภาพยนตร์)
งระจัน (Bang Rajan: The Legend of the Village's Warriors) ภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ผลงานลำดับที่ 10 ของ ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและบางระจัน (ภาพยนตร์)
กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน
กะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน ภาพยนตร์ไทย กำกับโดย มานพ อุดมเดช ฉายในปี พ.ศ. 2534 โดย บริษัท ที เค อาร์ กรุ๊ป ความยาว 118 นาที นำแสดงโดย สุรศักดิ์ วงษ์ไทย, อังคณา ทิมดี, ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย, มานพ อัศวเทพ เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่เป็นภาพยนตร์ในแนวฟิล์มนัวร์ (Film Noir) โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากเรื่อง The Postman Alway Rings Twice.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกะโหลกบางตายช้า กะโหลกหนาตายก่อน
กันตนา
ริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (Kantana Group Public Company Limited) นานกว่า 6 ทศวรรษที่กันตนาโดดเด่นอยู่ในวงการบันเทิงไทย ด้วยแนวคิดในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมธุรกิจทั้งด้านสื่อบันเทิงด้านการศึกษาและธุรกิจก่อสร้าง (เป็นธุรกิจใหม่) ใน 4 สายธุรกิจ ได้แก่ สายธุรกิจโทรทัศน์ (Television Business) สายธุรกิจภาพยนตร์ (Film Business) สายธุรกิจการศึกษา (Education Business) และสายธุรกิจบริหารจัดการเนื้อหาและธุรกิจใหม่ (Content Management & New Biz) กันตนา พร้อมด้วยทีมงานผู้ที่มีประสบการณ์ยาวนานกว่า1,000คน บนพื้นที่สตูดิโอขนาดใหญ่ 3 แห่ง อันได้แก่ กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ถนนรัชดาภิเษก ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่, กันตนา บางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี โดยเป็นที่ตั้งสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมต่างๆ ในเครือกันตนา และ กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ถือได้ว่าเป็นสตูดิโอกลางแจ้งที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค พร้อมให้บริการงานโฆษณา ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ทั้งในและต่างประเทศอย่างสมบูรณ์แบบ ด้วยศักยภาพในด้านการผลิตสื่อทุกประเภท นำไปสู่ความน่าเชื่อถือในระดับนานาชาติและก่อให้เกิดเป็นเครือข่ายธุรกิจที่สัมพันธ์เชื่อมโยงจากกันตนาสู่ประเทศคู่ค้ากว่า 40 ประเทศทั่วโลก .
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกันตนา
กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้
กาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้ (ชื่ออังกฤษ: Once Upon a Time) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2537 กำกับโดยบัณฑิต ฤทธิ์ถกล นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ, จินตหรา สุขพัฒน์, มาตัง จันทรานี, รณรงค์ บูรณัติ, ปรมัติ ธรรมมล, ชาลี ไตรรัตน์ และ ภูมิ พัฒนายุท.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและกาลครั้งหนึ่งเมื่อเช้านี้
ก้านกล้วย
ก้านกล้วย (พ.ศ. 2549) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดยกันตนาแอนิเมชัน เป็นเรื่องราวที่ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดีหรือเดิมชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือ พลายภูเขาทอง โดยในเรื่องใช้ชื่อว่า ก้านกล้วย เป็นตัวเอก ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ได้ คมภิญญ์ เข็มกำเนิด คนไทยที่ได้ไปศึกษาทางฟิล์มและวิดีโอที่เน้นด้านการทำแอนิเมชันที่สหรัฐ และได้เคยร่วมงานสร้างตัวละครและทำภาพเคลื่อนไหวที่เคยร่วมงานกับบริษัทวอลท์ดิสนีย์ และ บลูสกายสตูดิโออย่าง ทาร์ซาน (Tarzan), ไอซ์ เอจ (Ice Age) และ แอตแลนติส (Atlantis: The Lost Empire) มาเป็นผู้กำกับ พร้อมกลุ่มนักแอนิเมชันทั้งชาวไทยและต่างชาติกว่า 100 คน ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ไม่ว่าจะเป็นฉากที่เป็นภูมิทัศน์แบบไทย ต้นไม้ ไม้ดอก สภาพป่า และประเพณีไทย เช่น การคล้องช้าง การนำฉากหมู่บ้านทรงไทย แสดงพืชพรรณไม้ไทย เช่น ต้นราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติ ในฤดูกาลต่างๆ รวมทั้งการออกดอกเหลืองอร่ามในหน้าแล้ง แสดงฉากประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่สร้างด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์อีกเรื่องหนึ่งของไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ใช้เทคนิคดังกล่าว คือ ปังปอนด์ และแอนิเมชันซึ่งถือเป็นเรื่องแรกของไทยคือ สุดสาคร ซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิติ ก้านกล้วยได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ทางช่อง 7 โดยใช้ชื่อว่า "ก้านกล้วย ผจญภัย" จัดฉายทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00-17.30 น.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและก้านกล้วย
มหา'ลัย เหมืองแร่
อาจินต์ ปัญจพรรค์ มหา'ลัย เหมืองแร่ เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมหา'ลัย เหมืองแร่
มือปืน 2 สาละวิน
มือปืน 2 สาละวิน (Salween, Gunman II) ภาพยนตร์ไท..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและมือปืน 2 สาละวิน
รัก-ออกแบบไม่ได้
รัก-ออกแบบไม่ได้ หรือ O-Negative เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรัก-ออกแบบไม่ได้
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี พ.ศ. 2530
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 11 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2535
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 16 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี พ.ศ. 2540
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 21 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2541
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 22 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี พ.ศ. 2542
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 23 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี พ.ศ. 2543
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 24 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2544
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 25 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี พ.ศ. 2545
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 26 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี พ.ศ. 2547
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 27 ประจำปี..
รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549
ีมอบรางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ.
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11
ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 11 ประจำปี..
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12
ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี..
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13
ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 13 ประจำปี..
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14
ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี..
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15
ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2548 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 4 มกราคม พ.ศ.
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16
พิธีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2549 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นเมื่อคืนวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 18 ประจำปี พ.ศ. 2551 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 ประจำปี..
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20
รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 20 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2500
การประกวดภาพยนตร์ ชิงรางวัลตุ๊กตาทอง และสำเภาทอง ครั้งที่ 1 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2501
การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 2 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25
หมวดหมู่:กล่องท้ายเรื่อง.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 25
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2502
การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 3 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2503
การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 4 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2505
การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 5 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2506
การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 6 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2507
การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 7 ประจำปี..
รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2508
ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานรางวัลให้แก่ผู้ได้รับรางวัลตุ๊กตาทอง การประกวดภาพยนตร์ รางวัลตุ๊กตาทอง ครั้งที่ 8 ประจำปี..
รุกขเทวดา
รุกขเทวดาตามคติพม่า รุกขเทวดา (รุกฺขเทวตา) คือเทวดาที่สิงสถิตอยู่ตามไม้ต้น คัมภีร์ธัมมปทัฏฐกถาถือว่ารุกขเทวดาอยู่จำพวกเดียวกับพระภูมิ และเป็นเทวดาในชั้นจาตุมหาราชิกา ส่วน นางไม้ เป็นผีผู้หญิงที่สิงสถิตตามต้นไม้ใหญ่ ศาสนาพุทธถือว่านางไม้เป็นคนธรรพ์ที่ถือกำเนิดอยู่ภายในต้นไม้ และต่างจากรุกขเทวดาตรงที่ เมื่อต้นไม้ที่สิงสถิตนั้นล้มลง รุกขเทวดาจะย้ายไปอาศัยต้นไม้อื่นต่อ แต่นางไม้ยังคงสถิตในต้นไม้นั้นเรื่อยไปแม้ไม้นั้นจะถูกแปรรูปแล้วก็ตาม นางไม้ตามความเชื่อของไทย จัดเป็นสตรีสาวสวย ไว้ผมยาวประบ่า ห่มผ้าสไบเฉวียงบ่า นุ่งผ้าจีบงดงาม แต่นางไม้ในความเชื่อของชาวตะวันตก หรือที่เรียกว่า "นิมฟ์" มักจะไม่นุ่งห่มเสื้อผ้าอาภรณ์ อาจจะเป็นในแง่ของผีที่ไม่มีความก้าวหน้าด้านการแต่งตัวเคยแต่งกายอย่างไรก็แต่งเช่นนั้น ไม่สวมเสื้อหรือรองเท้า แต่จะสวมหมวกหรือมงกุฎอยู่เสมอไม่ถอดออก.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและรุกขเทวดา
ลุงบุญมีระลึกชาติ
ลุงบุญมีระลึกชาติ (Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives, Oncle Boonmee, celui qui se souvient de ses vies antérieures) เป็นภาพยนตร์ไทยนอกกระแส ออกฉายครั้งแรกในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและลุงบุญมีระลึกชาติ
ลูกอีสาน
ลูกอีสาน อาจหมายถึง สิ่งต่อไปนี้.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและลูกอีสาน
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2485) เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ กับหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา และเป็นเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 24 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น
ทองพูนโคกโพ ราษฎรเต็มขั้น เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายเมื่อปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น
ทองคำ
ทองคำ (gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษาละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมันวาวเนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรองทางการเงินของหลายประเทศ ใช้ประโยชน์เป็นเครื่องประดับ งานทันตกรรม และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิก.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและทองคำ
ขยี้
ี้ เป็นภาพยนตร์ไทยในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและขยี้
ข้างหลังภาพ
้างหลังภาพ คือ นวนิยายประพันธ์โดยศรีบูรพา หรือชื่อจริงว่า กุหลาบ สายประดิษฐ์ เริ่มตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในหนังสือพิมพ์ประชาชาติรายวัน เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและข้างหลังภาพ
ครูสมศรี
รูสมศรี เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและครูสมศรี
ความรักครั้งสุดท้าย
วามรักครั้งสุดท้าย เป็นละครโทรทัศน์แนวดราม่า จากปลายปากกาของ สุวรรณี สุคนธา นิยายเรื่องนี้เคยได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์มาแล้ว 2 รอบ ครั้งแรกเมื่อปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและความรักครั้งสุดท้าย
คืนบาป พรหมพิราม
ืนบาป พรหมพิราม เป็นภาพยนตร์อาชญากรรม ที่สร้างจากนวนิยายเชิงอาชญวิทยา ของนที สีทันดร (สันติ เศวตวิมล) ซึ่งมีเค้าโครงจากเรื่องจริงที่เกิดขึ้นในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคืนบาป พรหมพิราม
คู่กรรม
ู่กรรม เป็นนวนิยายแนวโศกนาฏกรรมและวีรคติ ประพันธ์โดย ทมยันตี ดำเนินเรื่องที่มีฉากหลังในประเทศไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยผู้ประพันธ์ได้รับแรงบันดาลใจเมื่อราวปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและคู่กรรม
ปืนใหญ่จอมสลัด
ปืนใหญ่จอมสลัด ภาพยนตร์แนวแฟนตาซีอิงประวัติศาสตร์ของ นนทรีย์ นิมิบุตร ทุนสร้าง 140 ล้านบาท เขียนบทภาพยนตร์โดย วินทร์ เลียววาริณ นักเขียนรางวัลซีไรต์ และคงเดช จาตุรันต์รัศมี.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปืนใหญ่จอมสลัด
ปง อัศวินิกุล
ปง อัศวินิกุล (เกิด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473) หนึ่งในผู้บุกเบิกการบันทึกเสียงลงฟิล์มสำหรับภาพยนตร์ไทย ได้รับการยกย่องเป็นช่างอัดเสียงมือหนึ่งของวงการภาพยนตร์ไทย เป็นผู้ก่อตั้ง ห้องบันทึกเสียงรามอินทรา เมื่อ..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและปง อัศวินิกุล
นวลฉวี
นวลฉวี อาจหมายถึง.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนวลฉวี
นางนาก
นางนาก เป็นภาพยนตร์ไทยที่มีเค้าโครงเรื่องจากแม่นาคพระโขนง เป็นภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จทั้งในด้านรายได้และรางวัล.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและนางนาก
น้ำตาลไม่หวาน
น้ำตาลไม่หวาน เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและน้ำตาลไม่หวาน
โรงแรมนรก
มพงษ์ รับบทศาสตราจารย์ที่เข้ามาซ้อมร้องเพลงโอเปร่าในโรงแรม ชูศรี รับบทคู่รักที่ล่ามโซ่ข้อมือติดกัน ล้อเลียนเรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย ภาพยนตร์เรื่องก่อนหน้าของรัตน์ ที่กำกับโดย มารุต ฉากพ่อแง่-แม่งอน ของเรียมกับชนะ โรงแรมนรก เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ที่ออกฉายเมื่อปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโรงแรมนรก
โหมโรง (ภาพยนตร์)
หมโรง (The Overture) เป็นภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2547 ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับดนตรีไทย เนื้อเรื่องได้แรงบันดาลใจมาจากประวัติของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้รับรางวัลมากมายในประเทศ และยังได้รับเลือกในฐานะ Official Selection จากประเทศไทย ในการเข้าชิงสาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในการประกาศรางวัลอะแคเดมีอีกด้วย กำกับโดย อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ และอำนวยการผลิตโดย นนทรีย์ นิมิบุตร และ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ภาพยนตร์ทำรายได้ 52.72 ล้านบาท นำแสดงโดย อนุชิต สพันธุ์พงษ์, อดุลย์ ดุลยรัตน์, พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง, อาระตี ตันมหาพราน, สุเมธ องอาจ, ภูวฤทธิ์ พุ่มพวง และอาจารย์ณรงค์ฤทธิ์ โตสง่า จากวงบอยไทย รับบทเป็น ขุนอิน ภายหลังดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์ โดยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อ พ.ศ.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและโหมโรง (ภาพยนตร์)
ไม่สิ้นไร้ไฟสวาท
ม่สิ้นไร้ไฟสวาท เป็นบทประพันธ์ของ นันทนา วีระชน เจ้าของบทประพันธ์ชื่อดัง "แรงเงา" ที่เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์มา 3 ครั้งแล้ว ครั้งแรกสร้างเป็นภาพยนตร์ เมื่อปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและไม่สิ้นไร้ไฟสวาท
เพื่อน...กูรักมึงว่ะ
ื่อน...กูรักมึงว่ะ (Bangkok Love Story) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเพื่อน...กูรักมึงว่ะ
เกิดอีกทีต้องมีเธอ
กิดอีกทีต้องมีเธอ (Dark Side Romance) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2538 นำแสดงโดย ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง, กุลสตรี ศิริพงษ์ปรีดา, โชคชัย เจริญสุข กำกับโดย ปรัชญา ปิ่นแก้ว.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเกิดอีกทีต้องมีเธอ
เรือนแพ
รือนแพ คือ เรือนที่เคยตั้งอยู่บนแพในน้ำแล้วยกขึ้นมาปลูกบนบก อาจหมายถึง.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเรือนแพ
เสียดาย
ียดาย (Daughter) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2537 นำแสดงโดย นุศรา ประวันณา, เขมสรณ์ หนูขาว, วิจิตรา ตริยะกุล, กาญจนา ขึ้นนกคุ้ม, วยุลี กิติอาภรณ์ชัย ร่วมด้วย จอนนี่ แอนโฟเน่, สรพงษ์ ชาตรี, ธัญญา โสภณ, รณ ฤทธิชัย, จีรุตน์ ณ นคร, กาญจนาพร ปลอดภัย, จักรกฤษณ์ คชรัตน์ บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสียดาย
เสียดาย 2
ียดาย 2 (Daughter 2) ภาพยนตร์ไทยในปี พ.ศ. 2539 นำแสดงโดย มาริสา แอนนิต้า, สาริน บางยี่ขัน, สรพงษ์ ชาตรี, ญาณี ตราโมท, อรุณโรจน์ เลี่ยมทอง (นักแสดงรับเชิญ) บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเสียดาย 2
เจาะเวลาหาโก๊ะ
วลาหาโก๊ะ เป็นภาพยนตร์ไทย เข้าฉายในปี พ.ศ. 2535 สร้างโดย ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น โดยเป็นภาคต่อจาก โก๊ะจ๋า ป่านะโก๊ะ เป็นเรื่องราวที่ต่อเนื่องกับเหตุการณ์ในภาคแรก นักศึกษากลุ่มเดิมพร้อมกับรุ่นน้องและพรานโก๊ะเดินทางกลับไปมอบของขวัญให้เด็กชาวเขา แต่ก็พลัดหลงเข้าไปในถ้ำเดิม และเกิดแผ่นดินไหว ทำให้พวกเขาย้อนกลับไปถึงสมัยกรุงธนบุรี ที่มีการรบระหว่างไทยกับพม่า ขณะเดียวกัน เหล่าโจรป่ากลุ่มเดิมจากภาคแรก ก็ได้ตามมาราวีพวกพรานโก๊ะถึงในอดีต แล้วพวกเขาจะย้อนกลับมาได้หรือไม่ เจาะเวลาหาโก๊ะ ได้กลับมาสร้างใหม่ในรูปแบบละครโทรทัศน์ ออกอากาศครั้งแรก ปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเจาะเวลาหาโก๊ะ
เด็กเสเพล
็กเสเพล นวนิยายไทยอันโด่งดังของ พนมเทียน เคยถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ ทั้งหมด 2 ครั้งโดยครั้งที่ 1 ออกฉายเมื่อปี 2503 นำแสดงโดย จิตกร สุนทรปักษิณ และครั้งที่ 2 เมื่อปี 2539 นำแสดงโดย วินรวีร์ ใหญ่เสมอ.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเด็กเสเพล
เงาะป่า (ภาพยนตร์)
งาะป่า เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2523 บทภาพยนตร์นั้นดัดแปลงจาก บทพระราชนิพนธ์ ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สร้างโดย ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น ร่วมกับอัศวินภาพยนตร์ กำกับการแสดงโดย เปี๊ยก โปสเตอร์ และ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล นำแสดงโดย จตุพล ภูอภิรมย์ รับบท ซมพลา,ศศิธร ปิยะกาญจน์ รับบท ลำหับ,ภิญโญ ปานนุ้ย รับบท ฮเนาและ ปู จินดานุช รับบท คนัง โดยมี หม่อมปริม บุนนาค และ คุณเกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เป็นผู้อำนวยการสร้าง ภาพยนตร์เรื่องนี้ทำให้จตุพลได้รับรางวัล ตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงนำยอดเยี่ยม ประจำปี พ.ศ.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเงาะป่า (ภาพยนตร์)
14 ตุลา สงครามประชาชน
14 ตุลา สงครามประชาชน (The Moonhunter) เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ14 ตุลา สงครามประชาชน
15 ค่ำ เดือน 11
15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี..
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ15 ค่ำ เดือน 11
2499 อันธพาลครองเมือง
2499 อันธพาลครองเมือง ภาพยนตร์ไทย ที่มีเนื้อหาเล่าย้อนถึงกรุงเทพมหานครยุคก่อนพุทธศักราช 2500 ที่เหล่านักเลงอันธพาลวัยรุ่นมีอิทธิพลและครองเมืองอย่างไม่หวั่นเกรงกฎหมาย กำกับโดย นนทรีย์ นิมิบุตร สร้างโดย บริษัท ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด เพลงประกอบภาพยนตร์ โดย วูล์ฟแพ็ค ออกฉายเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.
ดู รายชื่อผู้ได้รับรางวัลการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและ2499 อันธพาลครองเมือง