โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14

ดัชนี รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี..

35 ความสัมพันธ์: บรรจง ปิสัญธนะกูลบอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยมชัตเตอร์ กดติดวิญญาณบงกช คงมาลัยฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์พรชิตา ณ สงขลาพิชญ์นาฏ สาขากรพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงกรุงเทพมหานครกั๊กกะกาวน์ภาคภูมิ วงศ์ภูมิวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยงสมชาย เข็มกลัดสายล่อฟ้าหมานครอรรถพร ธีมากรอัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐอาภาพร นครสวรรค์อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์อดุลย์ ดุลยรัตน์อนุชิต สพันธุ์พงษ์ผอูน จันทรศิริทวิภพซาไกยูไนเต็ดซีอุยประเทศไทยปิติศักดิ์ เยาวนานนท์แอน ทองประสมโรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์โหมโรงโหน่ง ชะชะช่าเชิด ทรงศรีเฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้เมทินี กิ่งโพยมเดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก

บรรจง ปิสัญธนะกูล

รรจง ปิสัญธนะกูลหรือ โต้ง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทยที่โด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณที่เขาร่วมงานกับภาคภูมิ วงศ์ภูมิ ซึ่งเป็นผลงานที่แจ้งเกิดบรรจงในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์สยองขวัญหน้าใหม่ของไทยเนื่องภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณทำรายได้มากถึง 120 ล้านบาท ทำให้บรรจงและภาคภูมิก้าวสู่วงการหนังสยองขวัญอย่างเต็มตัว หลังจากนั้นบรรจงได้มีภาพยนตร์สยองขัวญอีกมากมายที่เขาร่วมกำกับได้แก่ แฝด สี่แพร่งตอนคนกลาง ห้าแพร่งตอนคนกอง ซึ่งแต่ละเรื่องล้วนทำรายได้มากมายทั้งสิ้น.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และบรรจง ปิสัญธนะกูล · ดูเพิ่มเติม »

บอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม

อดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม เป็นภาพยนตร์แนวตลกและเป็นเรื่องแรกของเพ็ชรทาย วงษ์คำเหลา (หม่ำ จ๊กมก) ที่ได้กำกับภาพยนตร์เรื่องนี้โดยออกฉายทางโรงภาพยนตร์เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และบอดี้การ์ดหน้าเหลี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ

ัตเตอร์ กดติดวิญญาณ เป็นภาพยนตร์ไทยในปี 2547 กำกับโดย บรรจง ปิสัญธนะกูล และ ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ นำแสดงโดย อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม ณัฐฐาวีรนุช ทองมี และ อชิตะ วุฒินันท์สุระสิทธิ์ สามารถทำรายได้ในประเทศไทย 107.1 ล้านบาท ยังขายลิขสิทธิ์ได้ใน 30 ประเทศทั่วโลก สร้างรายได้ ฉายในสิงคโปร์ได้ 33 ล้าน ที่เกาหลีติดอันดับ 5 หนังทำเงิน ฉายที่บราซิล 4 สัปดาห์แรก ทำรายได้สูงถึง 100 ล้านบาท ชัตเตอร์ยังได้รับรางวัล Best Asian Film จากเทศกาล Fantasia Film Festi val 2005 ที่แวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา และรางวัลหนังแฟนตาซีที่ดีที่สุดในงาน Fantastic's Arts Festival of Gerardmer ประเทศฝรั่งเศส ภาพยนตร์ถูกซื้อลิขสิทธิ์ไปสร้างใหม่ในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

บงกช คงมาลัย

งกช คงมาลัย (ชื่อเล่น: ตั๊ก) เกิดเมื่อ 15 เมษายน พ.ศ. 2528 เป็นนักแสดงชาวไทย มารดาชื่อ ธนาภา ชีพนุรักษ์ เป็นชาวสุพรรณบุรี ศึกษาที่โรงเรียนลาดปลาเค้าพิทยาคม จากนั้นพักการเรียน (มหาวิทยาลัยรามคำแหง) เข้าวงการบันเทิง เพื่อต้องการหาเงินเลี้ยงครอบครัว มีผลงานแจ้งเกิดด้วยวัยเพียง 15 ปี จากบท "อีสา" ในภาพยนตร์ย้อนยุคเรื่อง "บางระจัน" ต่อมามีผลงานภาพยนตร์เรื่อง "ขุนแผน" แล้วมาพลิกบทบาทเป็น "สมทรง" ในเรื่อง "ไอ้ฟัก" ตามด้วย "อำมหิตพิศวาส" รับบทเป็น แพรว ทางด้านผลงานละคร แสดงละครเรื่อง "ซุ้มสะบันงา", "ลูกแม่" ทางช่อง 7, "นิราศสองภพ" ทางช่อง 3, "เสน่ห์จันทร์" ช่อง 5 และ "รักแผลงฤทธิ์" ช่อง 3 และยังเคยเป็นพิธีกรรายการ "ตอกไข่ใส่จอ" ทางไอทีวี.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และบงกช คงมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์

ฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์ (Vanida Florence Faivre) หรือ ฟลอเรนซ์ (8 มิถุนายน พ.ศ. 2526 -) เป็นนางแบบอาชีพ ลูกครึ่งไทย-ฝรั่งเศส สูง 174 เซนติเมตร มีชื่อเสียงจากบทนำในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ทวิภพ (2547) ซึ่งได้เข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ และรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ฟลอเรนซ์เคยมีผลงานแสดงบทตัวประกอบเล็กๆ ช่วงต้นเรื่อง ในภาพยนตร์ฮอลลีวู้ด เรื่อง The Devil Wears Prada (2549).

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และฟลอเรนซ์ วนิดา เฟเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พรชิตา ณ สงขลา

รชิตา ณ สงขลา (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2523) ชื่อเล่น เบนซ์ เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และพรชิตา ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

พิชญ์นาฏ สาขากร

ญ์นาฏ สาขากร เกิดวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 เป็นนางแบบและนักแสดงที่มีชื่อเสียง ได้รับฉายา ซูฉีเมืองไทย สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และพิชญ์นาฏ สาขากร · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กั๊กกะกาวน์

นตร์เรื่อง กั๊กกะกาวน์ นำเสนอผ่านมุมมองที่ 'เข้าถึง' ความรู้สึกของ 'ความเหงา' ที่วัยรุ่นและใครหลายๆ คนต้องเผชิญ การตั้งคำถามกับ 'ชีวิต' และ 'ความรัก' ผ่านตัวละคร ป่าน (เจ้นท์ - พัชรา บูรณะวิมลวรรณ) น.แพทย์ ชั้นปี 4 ที่กำลังตามหาว่าจริงๆ แล้ว ชีวิตในแต่ละวันนั้น เธออยู่เพื่ออะไร - ท่ามกลางความเหงานั้น เธอรอคอยอะไร หรือใครบางคนอยู...

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และกั๊กกะกาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาคภูมิ วงศ์ภูมิ

ูมิ วงศ์ภูมิหรือ โอ๋ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทยที่เป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณที่เขาร่วมงานกับบรรจง ปิสัญธนะกูล ผลงานที่แจ้งเกิดบรรจงในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์สยองขวัญหน้าใหม่ของไทยเนื่องภาพยนตร์เรื่อง ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณทำรายได้มากถึง 120 ล้าน หลังจากนั้นภาคภูมิได้มีผลงานภาพยนตร์สยองขัวญอีกมากมายที่เขาร่วมกำกับได้แก่ แฝดที่ร่วมงานกับบรรจงอีกครั้ง สี่แพร่งตอนเที่ยวบิน 224 ห้าแพร่งตอนรถมือสอง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และภาคภูมิ วงศ์ภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ ถือเป็นคลื่นลูกใหม่รุ่นเดียวกับ เป็นเอก รัตนเรือง, นนทรีย์ นิมิบุตร, อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล และ จิระ มะลิกุล สไตล์การกำกับภาพยนตร์ของวิศิษฎ์จะเป็นแนวจินตนาการเหนือจริงและใช้สีสันฉูดฉาด และในหลายฉากที่เขากำกับมักจะยกย่องความคลาสสิกของหนังไทยในยุคเก่าอยู่เสมอๆ อย่างเช่นในเรื่อง ฟ้าทะลายโจร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย เข็มกลัด

มชาย เข็มกลัด เกิดเมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2517 ที่กรุงเทพมหานคร นักร้อง นักแสดงชาวไทยที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และสมชาย เข็มกลัด · ดูเพิ่มเติม »

สายล่อฟ้า

ม้ที่ติดตั้งสายล่อฟ้าและสายดินฟ้าผ่าสร้างความตื่นตระหนกแก่มนุษย์ในช่วงแรกๆอย่างมากและผู้คนในปัจจุบันยังคงกลัวฟ้าผ่าอยู่ ซึ่งประกายฟ้าที่เกิดขึ้นสามารถทำลายสิ่งที่มันผ่าได้มากมาย อีกทั้งมันยังสามารถผ่าคนได้ ซึ่งส่วนใหญ่ คนที่ถูกผ่านั้นเสียชีวิตอุปกรณ์ที่เรียกว่า "Machina meteorologica" ประดิษฐ์โดยพรอคอป ดิวิช ทำงานคล้ายกับสายล่อฟ้า สายล่อฟ้า เป็นอุปกรณ์ที่คิดประดิษฐ์ขึ้นโดย เบนจามิน แฟรงคลินไม่เข้าใจฟ้าผ่าจึงสร้างเครื่องมือ ที่เรียกว่า “สายล่อฟ้า” เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายเทประจุไฟฟ้าจากก้อนเมฆ โดยตรงปลายแหลมของสายล่อฟ้าจะมีสนามไฟฟ้าที่ค่อนข้างแรงกว่าที่อื่น สนามไฟฟ้านี้จะเหนี่ยวนำโมเลกุลของอากาศให้เข้ามาใกล้ ๆ แล้วรับประจุไฟฟ้าส่วนเกินไป ทำให้ลดความต่างศักย์ที่เกิดขึ้นระหว่างก้อนเมฆและหลังคาลง โดยการนำผ่านสายเหนี่ยวนำลงสู่พื้นดิน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และสายล่อฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

หมานคร

หมานคร (Citizen Dog) เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องที่ 2 ซึ่งวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง กำกับ เป็นภาพยนตร์แนวตลก โรแมนติก เมจิคัลเรียลลิสม์ ดัดแปลงจากนิยายขนาดสั้นของ "คอยนุช" (ศิริพรรณ เตชจินดาวงศ์) ผู้กำกับของหนังเรื่องนี้ให้คำจำกัดความภาพยนตร์ของตนเองว่า "หนังรักรื่นรมย์ อารมณ์ดี ประหลาดโลก".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และหมานคร · ดูเพิ่มเติม »

อรรถพร ธีมากร

อรรถพร ธีมากร (หนุ่ม) เกิดวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นนักแสดง นักร้อง นักดนตรี พิธีกร และผู้กำกับละคร บุตรของนายพูลสวัสดิ์ ธีมากร นักแสดงอาวุโส เข้าสู่วงการบันเทิงหลังไปออกรายการ จันทร์กะพริบ กับคุณพ่อ โดยเล่นละครเรื่อง "รุ่นหนึ่งตึกห้าหน้าเดิน" เป็นเรื่องแรก ต่อมามีผลงานแสดงละครและภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง โดยผลงานภาพยนตร์สร้างชื่อ คือ 2499 อันธพาลครองเมือง และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์เรื่อง เดอะ เลตเตอร์ จดหมายรัก ในการประกาศรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ประจำปี 2547 มีเพื่อนสนิทในวงการ คือ "กัปตัน" ภูธเนศ หงษ์มานพ และ "ติ๊ก" เจษฎาภรณ์ ผลดี ด้านการศึกษาและชีวิตส่วนตัว จบบริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น สมรสกับ อริญรดา ปิติมารัชต์ มีบุตรชาย 2 คน ชื่อ อันดาและอดัม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และอรรถพร ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

อัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ

อัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ หรือชื่อเดิม ธีรดนัย สุวรรณหอม หรือชื่อเล่น โจ๊ก (20 ตุลาคม พ.ศ. 2524 —) เป็นนักแสดงชาวไทย เข้าสู่วงการโดยได้แสดงภาพยนตร์โฆษณา แสดงอยู่ 2-3 เรื่อง จึงมาแสดงในภาพยนตร์เรื่อง Goal Club รับบทเป็นออตโต้ หลังจากนั้นแสดงภาพยนตร์อีกหลายเรื่อง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และอัครินทร์ อัครนิธิเมธรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

อาภาพร นครสวรรค์

อาภาพร นครสวรรค์ เป็นนักแสดง นักร้องลูกทุ่งชาวไทย มีชื่อเสียงจากผลงานเพลง "เลิกแล้วค่ะ" "ชอบไหม" "อารมณ์เสีย" และ "เชพบ๊ะ".

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และอาภาพร นครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์

อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ อิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ เกิดวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505 จบการศึกษาระดับมัธยมปลายจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และระดับปริญญาตรีจาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการทำงานของคุณอิทธิสุนทรได้สร้างสรรค์ผลงานบันเทิงหลายชิ้นและเป็นที่ชื่นชอบของผู้ชมทั่วไปมาโดยตลอด เริ่มต้นจากการเป็นผู้เขียนบทและร่วมแสดงในรายการเพชฌฆาตความเครียด เป็นโปรดิวเซอร์และผู้กำกับ ที่บริษัทเจเอสแอล ทำรายการพลิกล็อก, วิก 07, รายการละคร และมินิซีรี่ย์หลายเรื่อง เขียนหนังสือรวมเรื่องสั้น ชุด”เพียงความทรงจำเอาไว้เลย” และเขียนเพลงให้กับหลายศิลปิน อาทิ ระวิวรรณ จินดา, แอนนา โรจน์รุ่งฤกษ์, อังศนา ช้างเศวต, ไฮร๊อค, โคโคแจ๊ส ฯลฯ รวมทั้งเพลงประกอบรายการโทรทัศน์ และเพลงโฆษณา เป็นผู้กำกับภาพยนตร์โฆษณา และภาพยนตร์ไทย ที่บริษัทกิมมิคไดเรคชั่น และบริษัทกิมมิคฟิล์ม โดยมีผลงานเขียนบทและกำกับภาพยนตร์เรื่อง “ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด” ละครโทรทัศน์เรื่อง “ปู่ครับ ผมรักพ่อ”, “พระจันทร์ลายกระต่าย” และประสบความสำเร็จอย่างสูงจากภาพยนตร์เรื่อง “โหมโรง” ด้วยผลงานภาพยนตร์ที่ประสบความสำเร็จหลายเรื่อง และเป็นอีกผู้หนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้วงการภาพยนตร์ไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ทำให้คุณอิทธิสุนทรได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย อาทิ รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม เขียนบทยอดเยี่ยม ชมรมวิจารณ์บันเทิง ปี 2536 จาก “ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด”, รางวัลภาพยนตร์ส่งเสริมเยาวชน ปี 2536 จาก “ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด”, รางวัลเมขลา ละครสร้างสรรค์ดีเด่น ปี 2542 จาก “พระจันทร์ลายกระต่าย”, รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม จากงานภาพยนตร์แห่งชาติ(สุพรรณหงส์) และชมรมวิจารณ์บันเทิง ปี 2547 จาก “โหมโรง”, รางวัลAudience Awards จาก Miami International Film Festival (2005) และ MAINE International Film Festival (2005) จาก “โหมโรง”.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และอิทธิสุนทร วิชัยลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

อนุชิต สพันธุ์พงษ์

อนุชิต สพันธุ์พงษ์ เป็นนักเต้น นักร้อง และนักแสดงชาวไท.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และอนุชิต สพันธุ์พงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ผอูน จันทรศิริ

ผอูน จันทรศิริ เป็นนักแสดง และผู้กำกับการแสดง มีผลงานกำกับทั้งละครโทรทัศน์ ละครเวที และภาพยนตร.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และผอูน จันทรศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ทวิภพ

ละครโทรทัศน์ ทวิภพ พ.ศ. 2537 ทวิภพ เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของ "ทมยันตี" ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทย ใช้เวลา 2 ปี ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักต่างภพ ระหว่างอดีตและปัจจุบันมาบรรจบกัน โดยมีเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองมาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้มีอรรถรส ในการอ่านให้ดูเข้มขึ้น บทประพันธ์ชิ้นนี้ คุณทมยันตี ได้ใส่รายละเอียดของความเป็นอยู่ของบุคคลในสมัยเก่าได้อย่างแนบเนียนยิ่ง เป็นนวนิยายรักที่แฝงไปด้วยเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองและเกร็ดความรู้ทางด้านความเป็นอยู่ของบุคคลสมัยนั้นเป็นอย่างดี ถึงแม้เยาวชนหรือวัยรุ่นอ่านก็เหมาะสม เพราะไม่ได้มีความรักที่เป็นเรื่องราวของทาง "เพศ" แต่เป็นเรื่องราวความรักที่มีความผูกพันข้ามชาติที่ดูลึกซึ้ง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และทวิภพ · ดูเพิ่มเติม »

ซาไกยูไนเต็ด

ซาไกยูไนเต็ด เป็นภาพยนตร์ไทย จัดฉายครั้งแรก ณ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2547 กำกับโดย สมจริง ศรีสุภาพ และเขียนบทโดย สมภพ เวชชพิพัฒน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และซาไกยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

ซีอุย

ซีอุย (พ.ศ. 2470 — 16 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นชื่อของชาวจีน ที่สันนิษฐานว่าเป็นฆาตกรที่ฆ่าเด็กและนำตับมาต้มกินในช่วงปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และซีอุย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์

ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ (เต้) นักแสดง เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2525 จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกัลยา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สำเร็จการศึกษาจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา มีผลงานสร้างชื่อในวงการบันเทิง คือ ภาพยนตร์เรื่อง ไอ้ฟัก โดยแสดงคู่กับ บงกช คงมาลัย ปัจจุบันสมรสแล้วกับแฟนสาวนอกวงการหลังคบหาดูใจกันมา 5 ปีเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และปิติศักดิ์ เยาวนานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แอน ทองประสม

แอน ทองประสม เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และแอน ทองประสม · ดูเพิ่มเติม »

โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์

รงภาพยนตร์ลิโด โรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์ เป็นกลุ่มโรงภาพยนตร์ ซึ่งเกือบทั้งหมด มีที่ตั้งอยู่ในย่านสยามสแควร์ ประกอบด้วย โรงภาพยนตร์ศาลาเฉลิมไทย (จนถึงต้นปี พ.ศ. 2532) โรงภาพยนตร์สยาม โรงภาพยนตร์ลิโด และ โรงภาพยนตร์สกาลา จดทะเบียนธุรกิจในนามสยามมหรสพ มีทุนจดทะเบียน 20 ล้านบาท จัดตั้งเมื่อปี 2511 ขณะที่ข้อมูลจากบางสำนักระบุว่าบริษัท เอเพกซ์ภาพยนตร์ จำกัด เป็นผู้ประกอบธุรกิจโรงภาพยนตร์ทั้งลิโด้และสกาล่า โดยบริษัทดังกล่าวจัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2523 มีทุนจดทะเบียน 140 ล้านบาท จากจุดตั้งต้น 1 ล้านบาท มีเจ้าของประกอบไปด้วย กัมพล ต้นสัจจา,นันทา ต้นสัจจาและวิวัฒน์ ต้นสัจจา ที่บริหารสวนนงน.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และโรงภาพยนตร์เครือเอเพ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

โหมโรง

หมโรงอาจหมายถึง.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และโหมโรง · ดูเพิ่มเติม »

โหน่ง ชะชะช่า

หน่ง ชะชะช่า ชื่อจริง ชูศักดิ์ เอี่ยมสุข (7 มิถุนายน พ.ศ. 2516) เป็นนักแสดงตลกชื่อดังจากแก๊งสามช่า มีลักษณะเด่นคือตัวอ้วนและศีรษะโล้น ตั้งฉายาให้ตนเองว่า "ตลกซุปเปอร์สตาร์" มีน้องชายที่เป็นตลกและนักแสดง คือ นุ้ย เชิญยิ้ม.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และโหน่ง ชะชะช่า · ดูเพิ่มเติม »

เชิด ทรงศรี

ทรงศรี เป็นชื่อและนามสกุลจริงที่ใช้ในการกำกับภาพยนตร์ทุกเรื่อง ส่วนนามปากกา ธม ธาตรี ใช้ในงานเขียนนวนิยายและเขียนบทภาพยนตร์ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์แนวหน้าชาวไทย มีผลงานกำกับภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง และได้รับรางวัลมากมาย เชิด ทรงศรีเกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และเชิด ทรงศรี · ดูเพิ่มเติม »

เฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้

ฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้ หรือชื่อเดิม อชิตะ สิกขมานา, อชิตะ วุฒินันท์สุระสิทธิ์, อชิตะ ธนาศาสตนันท์, หนูอิมอิม ก้าวมหัศาจรรย์ ตามลำดับ ชื่อเล่นว่า อิม และเป็นที่รู้จักในชื่อ อิม อชิตะ (27 มีนาคม พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไทย เฟี้ยวฟ้าวเกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ เป็นบุตรคนเล็กจากทั้งหมดสองคนของโชคชัย วุฒินันท์สุระสิทธิ์ กับชโรชินี สิกขมานา มารดาเป็นลูกครึ่งเนปาลกับพม่า พี่ชายชื่อฟ้าว์เฟี้ยว สุดสวิงริงโก้ (ชื่อเดิม อิชยะ สิกขมานา) จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย และศึกษาต่อที่คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เริ่มเข้าสู่วงการจากการประกวดดัชชี่บอยแอนด์เกิร์ล ได้รองอันดับ 1 ดัชชี่เกิร์ลปี 2001.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และเฟี้ยว์ฟ้าว สุดสวิงริงโก้ · ดูเพิ่มเติม »

เมทินี กิ่งโพยม

มทินี กิ่งโพยม ชาร์พเพิร์ล เป็นนางแบบ นักแสดง พิธีกร โดยในปี พ.ศ. 2535 ได้รับตำแหน่งมิสไทยแลนด์เวิลด์ ปีค.ศ. 1992 และเป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดมิสเวิลด์ปี 1992 ที่ประเทศแอฟริกาใต้ และได้ตำแหน่ง Miss Continental Queens Asia & Oceania (ราชินีแห่งทวีปเอเชียและโอเซเนีย) จากนั้นก็ได้รับโอกาสในการเดินแบบแฟชั่น พร้อมทั้งถ่ายแบบลงนิตยสาร โดยเป็นงานที่ใฝ่ฝันมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก.

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และเมทินี กิ่งโพยม · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก

อะเลตเตอร์ จดหมายรัก เป็นภาพยนตร์รักที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14และเดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 14 ประจำปี พ.ศ. 2547

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »