โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491

ดัชนี รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491

รัฐประหาร 6 เมษายน..

54 ความสัมพันธ์: ชวลิต อภัยวงศ์ชั่วโมงชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์บุญเท่ง ทองสวัสดิ์พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2522พรรคประชาธิปัตย์พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรกบฏกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)กรุงเทพมหานครการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490วังสวนกุหลาบวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)สวนลุมพินีสื่อมวลชนสุวิชช พันธเศรษฐสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทยสนามกีฬาแห่งชาติหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชหม่อมเจ้ามงคลอุดม ชยางกูรหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากรหม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัตหยุด แสงอุทัยหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)ผิน ชุณหะวัณจิร วิชิตสงครามถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ท้องสนามหลวงขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)ควง อภัยวงศ์ตำรวจนายกรัฐมนตรีแปลก พิบูลสงครามโชติ คุ้มพันธ์เชียงตุงเกษม บุญศรีเลื่อน พงษ์โสภณเลียง ไชยกาลเผ่า ศรียานนท์เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)...เทพ โชตินุชิต6 เมษายน8 พฤศจิกายน8 เมษายน ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

ชวลิต อภัยวงศ์

วลิต อภัยวงศ์ เป็นอดีตรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระตะบอง และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และชวลิต อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชั่วโมง

ั่วโมง อักษรย่อ ชม. (Hour: h หรือ hr) เป็นหน่วยของเวล.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และชั่วโมง · ดูเพิ่มเติม »

ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์

ลโท ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ (พ.ศ. 2439 - พ.ศ. 2532) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรี.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเท่ง ทองสวัสดิ์

ญเท่ง ทองสวัสดิ์ (15 เมษายน พ.ศ. 2455 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542) เป็นอดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 16 สมัย ซึ่งมากที่สุดในโลก รวมถึงผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับฉายาจากนักสื่อมวลชนว่า เท่งเที่ยงถึง.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2522

ทธศักราช 2522 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1979 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพ.ศ. 2522 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)

นาวาเอก พระยาศราภัยพิพัฒ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 - 21 กันยายน พ.ศ. 2511) นักหนังสือพิมพ์ อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และวุฒิสมาชิก พระยาศราภัยพิพัฒ มีชื่อจริงว่า เลื่อน ศราภัยวานิช สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญรุ่นเดียวกับพระยาอนุมานราชธน และไปศึกษาต่อด้านสื่อสารมวลชน จาก School of Journalism เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย สมรสกับ หม่อมหลวงฉลอง ศราภัยวานิช พระยาศราภัยพิพัฒ ได้รับราชการเป็นนายเวรวิเศษ เลขาประจำตัวของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้ากรมเสมียนตรา และปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม ถูกปลดออกจากราชการหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 พร้อมกับทำงานด้านหนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ ไปพร้อมกับนายหลุย คีรีวัต นายสอ เศรษฐบุตร เป็นต้น หนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ที่พระยาศราภัยพิพัฒ นั้นได้ถูกเพ่งเล็งจากฝ่ายรัฐบาล ว่าเป็นสื่อที่สนับสนุนการปกครองแบบเก่า หลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช ในปี พ.ศ. 2476 และพระยาศราภัยพิพัฒเขียนบทความชื่อ "ฟ้องในหลวง" โจมตี กรณีนายถวัติ ฤทธิ์เดช ยื่นฟ้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อศาลอาญา อีกทั้งยังเดินทางไปเข้าเฝ้าสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ปีนัง พระยาศราภัยพิพัฒและพวกถูกหมายจับในข้อหาแจกใบปลิวเถื่อนและปลุกระดมการกบฏ จึงหลบหนีด้วยการลงเรือตังเกหนีลงทะเล แต่ถูกจับได้ที่อ่าวไทย หลังจากนั้นจึงถูกส่งไปจำคุกในฐานะนักโทษการเมือง ที่เกาะตะรุเตา พร้อมกับนักโทษคนสำคัญอีกหลายคน จนกระทั่งในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล)

ันเอก พระยาศรีวิสารวาจา (นามเดิม เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล: 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2439 – 23 มีนาคม พ.ศ. 2511) อดีตอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, อดีตปลัดทูลฉลอง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นหนึ่งในผู้ร่างกฎหมายที่จะนำมาใช้เป็นรัฐธรรมนูญถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ และนายเรมอนต์ บี สตีเวนส์ ซึ่งทรงมีกำหนดที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญในวันสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 150 ปี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2475 พระยาศรีวิสารวาจา จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ และระดับอุดมศึกษา คณะนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด บาร์ริสเตอร์มิดเดิลเทมเปิล ด้วยคะแนนเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งในสภากรรมการองคมนตรี ในรัชกาลที่ 7 และองคมนตรี ในรัชกาลปัจจุบัน บทบาทในทางการเมืองเป็นสมาชิกและเป็น..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพระยาศรีวิสารวาจา (เทียนเลี้ยง ฮุนตระกูล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)

ระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี มีนามเดิมว่า บุญช่วย วณิกกุล (15 มิถุนายน พ.ศ. 2432 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

ลเอก พระยาเทพหัสดิน (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 - 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) หัวหน้าคณะทูตทหารไทยที่เข้าร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 นักโทษประหาร สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พลเอกพระยาเทพหัสดินฯ ได้รับพระราชทานยศ บรรดาศักดิ์ และราชทินนามเต็มว่า พลเอก พระยาเทพหัสดิน สยามพิชิตินทร์สวามิภักดิ์ อุดมศักดิ์เสนีย์พิริยะพาหะ เป็นบุตรชายคนโตในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของพันเอก หลวงฤทธิ์นายเวร (พุด เทพหัสดิน ณ อยุธยา พี่ชายต่างมารดาของ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)) ซึ่งเป็นมหาดเล็กข้าหลวงเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับคุณหญิงเลื่อนฤทธิ์ เกิดเมื่อวันขึ้น 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2420 ณ บ้านสำเพ็ง หน้าวัดจักรวรรดิราชาวาส จังหวัดพระนคร พระยาเทพหัสดิน มีศักดิ์เป็นหลานอาของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี แต่มีอายุไล่เลี่ยกัน.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร

ระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าธานีนิวัต โสณกุล" (7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 — 8 กันยายน พ.ศ. 2517) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ประธานองคมนตรี และผู้สำเร็จราชการแทนพระอง.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร · ดูเพิ่มเติม »

กบฏ

กบฏ, ขบถ หรือ กระบถ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และกบฏ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)

กระทรวงการคลัง (Ministry of Finance) เป็นหน่วยงานราชการไทยประเภทกระทรวง ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเงินของแผ่นดิน การภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ดินราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่เพียงผู้ เดียวตามกฎหมายและไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือสัตยาบัน รวมทั้งการค้ำประกันหนี้ของส่วนราชการและองค์การรัฐ สถาบันการเงินและรัฐวิสาหก.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และกระทรวงการคลัง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

วังสวนกุหลาบ

ระตำหนักวังสวนกุหลาบ วังสวนกุหลาบ เป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ตั้งอยู่ที่มุมถนนราชสีมากับถนนศรีอยุธยา โดยทางด้านทิศเหนือติดกับถนนอู่ทองนอก และทิศตะวันออกติดกับสวนอัมพร ซึ่งอาณาเขตดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังดุสิต ตามเดิมพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริที่จะสร้างวังสมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา ที่วังริมแม่น้ำเจ้าพระยาตอนใต้ปากคลอง(ตลาด) คูเมืองเดิม ครั้งเสด็จฯกลับมาจากทรงศึกษาในประเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์จะให้ทรงศึกษาราชการอยู่ใกล้พระองค์ จึงได้โปรดเกล้าฯให้สร้างตำหนักชั่วคราวที่สวนดุสิต ตรงริมถนนใบพร พระราชทานนามว่า "สวนกุหลาบ" สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมหลวงนครราชสีมา จึงเสด็จประทับอยู่ตลอดรัชกาลที่ 5 ในสมัยรัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้ขยายเขตที่วังสวนกุหลาบออกไปให้กว้างขวางกว่าเก่า สร้างพระตำหนักและท้องพระโรงพระราชทานเป็นอาคารถาวร สมเด็จเจ้าฟ้าฯกรมหลวงนครราชสีมาได้ประทับอยู่จนเสด็จทิวงคตในปีพุทธศักราช 2467 วังสวนกุหลาบสร้างตามแบบสถาปัตยากรรมของยุโรป ตัวอาคารมี 2 ชั้น ก่ออิฐถือปูน ทาสีเหลืองอ่อน หลังคามุงกระเบื้องสีแดง ภายในตกแต่งอย่างงดงาม ที่วังนี้เคยเป็นที่ทำการของรัฐบาล ในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นที่ตั้งของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) ซึ่งต่อมาได้ย้ายไปอยู่ที่สวนรื่นฤดี ในปีพุทธศักราช 2507 ต่อมากองออมทรัพย์ กองแผนและโครงการของกรมสวัสดิการทหารบกได้ย้ายจากสวนพุดตานมาทำการอยู่ที่วังนี้แทน จนกระทั่งในวันที่ 9 ธันวาคม พุทธศักราช 2539 กรมสวัสดิการทหารบก ได้ทำหนังสือถวายคืนวังสวนกุหลาบให้กลับมาอยู่ในความควบคุมดูแลของสำนักพระราชวัง โดยมีพิธีส่งมอบเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พุทธศักราช 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ มาจัดแสดงไว้ที่พระตำหนักวังสวนกุหลาบตั้งแต่วันที่ 28 ธันวาคม พุทธศักราช 2542 นอกจากนี้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ยังใช้เป็นที่ทรงงาน และโปรดให้คณะบุคคลมาเข้าเฝ้าที่วังสวนกุหลาบอยู่เสมอ.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และวังสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์

วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ หรือ วันจักรี เป็นวันที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและมหาจักรีบรมราชวงศ์ ตรงกับวันที่ 6 เมษายนของทุกปี.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)

ร่างรัฐธรรมนูญ คือ คณะบุคคลที่ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ มักเกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและต้องการให้มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร หรือเป็นกรณีที่ต้องการประสานประโยชน์ ตรงตามความประสงค์ของบุคคลทุกฝ่ายมากที่สุด รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย ที่ร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ผลดีของการร่างรัฐธรรมนูญโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ คือ.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

สวนลุมพินี

วนลุมพินี หรือที่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า สวนลุม เป็นสวนสาธารณะแห่งแรกของประเทศไทย เปิดให้บริการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และสวนลุมพินี · ดูเพิ่มเติม »

สื่อมวลชน

ื่อมวลชน (mass media) เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารจากบุคคลหนึ่งหรือจากองค์กรหนึ่ง ไปยังมวลชนจำนวนมากโดยเฉพาะประชาชนทั้งประเทศ ในเวลาอันรวดเร็ว ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ อินเทอร์เน็ตฯลฯ การเผยแพร่ในสื่อมวลชนส่วนหนึ่งต้องจ่ายเงินเพื่อซื้อเวลา ซื้อพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร อย่างไรก็ตามองค์กรสามารถใช้สื่อมวลชนแบบให้เปล่าได้ หากองค์กรนั้นมีเรื่องราวที่น่าสนใจแก่การเผยแพร่ หรือบังคับโดยข้อกฎหม.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และสื่อมวลชน · ดูเพิ่มเติม »

สุวิชช พันธเศรษฐ

นายสุวิชช พันธเศรษฐ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย เป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง เป็นกรรมการในคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2491 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2515 และเป็นพี่ชายของนายทองดี อิสราชีวิน อดีต..เชียงใหม่ 6 สมัย และเป็นน้าของนายไกรสร ตันติพงศ์ อดีต..เชียงใหม่ 7 สมั.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และสุวิชช พันธเศรษฐ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย

อาณาเขตของประเทศไทยระหว่างสงคราม สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไท.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาแห่งชาติ

สนามกีฬาแห่งชาติ เป็นสนามกีฬาที่ใช้รองรับในการแข่งขันใหญ่ โดยเฉพาะเป็นสนามเหย้าของประเทศนั้น สำหรับทีมชาติในการแข่งขันกีฬาแต่ละประเภท คำ ๆ นี้โดยมากมักใช้หมายถึงสนามกีฬาฟุตบอล โดยปกติแล้วสนามกีฬาแห่งชาติมักจะมีสถานที่ตั้งอยู่ใน/หรืออยู่ใกล้กับเมืองหลวง หรือเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ และมักจะเป็นสนามกีฬาที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ (แต่ก็ไม่เสมอไป) มักใช้จัดการแข่งขันกีฬาที่สำคัญ (เช่นฟุตบอลโลก หรือโอลิมปิก) มีหลายสนามที่ใช้เป็นสนามแข่งขันทีมเหย้าของสโมสรท้องถิ่นนั้น ๆ มีหลายประเทศที่ไม่มีสนามกีฬาแห่งชาติ เช่น สเปน และสหรัฐอเมริกา โดยจะหมุนเวียนใช้สนามในแต่ละส่วนของประเทศ.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และสนามกีฬาแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ามงคลอุดม ชยางกูร

หม่อมเจ้ามงคลอุดม ชยางกูร (4 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยานุชิต กรมหมื่นพงศาดิศรมหิป และเป็นพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหม่อมเจ้ามงคลอุดม ชยางกูร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร

หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร (10 เมษายน พ.ศ. 2426 — 22 มิถุนายน พ.ศ. 2514) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ ที่ประสูติแต่ หม่อมสุภาพ กฤดากร ณ อยุธยา ทรงได้รับการยกย่องเป็น บิดาแห่งการเกษตรแผนใหม่ หม่อมเจ้าสิทธิพร เสด็จไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษตั้งแต่ทรงพระเยาว์ ทรงศึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ที่กรุงลอนดอน เริ่มรับราชการที่กระทรวงพระคลัง เมื่อ..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต

หม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต (17 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2507) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจันทรทัตจุฑาธาร กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชากับหม่อมราชวงศ์แข จันทรทัต และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหม่อมเจ้าเฉลิมศรีจันทรทัต จันทรทัต · ดูเพิ่มเติม »

หยุด แสงอุทัย

ตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (8 เมษายน พ.ศ. 2451 — 30 ธันวาคม พ.ศ. 2522) อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาและอาจารย์คณะนิติศาสตร์ ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นปรมาจารย์ทางสาขาวิชานิติศาสตร์ท่านหนึ่งของประเทศไทย ศาสตราจารย์พิเศษ หยุด แสงอุทัย (นามเดิม สายหยุด แสงอุทัย) หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหยุด แสงอุทัย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม)

ลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หลวงกาจสงคราม หนึ่งในสมาชิกคณะราษฎร สมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ของกองทัพบกไทย ช่วงปี..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และหลวงกาจสงคราม (กาจ กาจสงคราม) · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

จิร วิชิตสงคราม

ลเอก จิร วิชิตสงคราม (? - พ.ศ. 2522) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรี ปลัดกระทรวงกลาโหม เสนาธิการกลาโหม และเสนาธิการกองทัพบก.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และจิร วิชิตสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ท้องสนามหลวง

ท้องสนามหลวง ท้องสนามหลวง หรือ สนามหลวง เป็นสนามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ด้านหน้าวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ระหว่างพระบรมมหาราชวังกับพระราชวังบวรสถานมงคล เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 74 ไร่ 63 ตารางวา ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 94 ตอนที่ 126 ลงวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และท้องสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร)

นคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) เป็นอดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 6 สมั.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) · ดูเพิ่มเติม »

ควง อภัยวงศ์

รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวงศ์ หรือ พันตรี ควง อภัยวงศ์ (17 พฤษภาคม 2445 – 15 มีนาคม 2511) อดีตนายกรัฐมนตรีไทย 4 สมัย ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์คนแรก ควง อภัยวงศ์เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือนซึ่งร่วมการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 เคยมีบรรดาศักดิ์เป็น รองอำมาตย์เอก หลวงโกวิทอภัยวง.ต.ควง ถือเป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งกระทรวงคมนาคมยุคใหม่ เนื่องจากดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการคนแรก ด้วยประสบการณ์ที่เคยรับราชการจนมีตำแหน่ง เป็นถึงอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข นอกจากนี้ยังเคย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์, กระทรวงการคลัง, กระทรวงเกษตราธิการ และกระทรวงมหาดไทยด้ว.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และควง อภัยวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำรวจ

ตำรวจในประเทศอิตาลี ตำรวจ เป็นชื่อเรียกของเจ้าหน้าที่ของรัฐ มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เรียกชื่อตามหน้าที่รับผิดชอบ เช่น ตำรวจกองปราบ ตำรวจดับเพลิง ตำรวจน้ำ ตำรวจตระเวนชายแดน ตำรวจรถไฟ ตำรวจป่าไม้ ตำรวจจราจร ตำรวจนครบาล ตำรวจทางหลวง ตำรวจภูธร ตำรวจลับ ตำรวจวัง ตำรวจสภา ตำรวจสันติบาล ตำรวจหลวง.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และนายกรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โชติ คุ้มพันธ์

ร.โชติ คุ้มพันธ์ ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นชาวจังหวัดปทุมธานี เรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา เข้าสมัครเป็นเสมียนกรมศุลกากร ต่อมาเมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้อาสาสมัครเข้าเป็นพลทหาร ตำแหน่งพลขับ เมื่อกลับมาแล้วรับจ้างเป็นกะลาสีในเรือ แล้วจึงไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี สถานที่เคยอาสาไปรบ จนกระทั่งเรียนจนได้ปริญญาเอกทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อกลับมาแล้วเข้าทำงานธนาคาร โดยเป็นผู้หนึ่งที่ริเริ่มตั้งธนาคารแห่งประเทศไทยขึ้น ในทางการเมือง ดร.โชติ คุ้มพันธ์ เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรประเภทที่ 1 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2475 อันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของไทย และเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตย โดยมีสมาชิกคนสำคัญเช่น นายสอ เสถบุตร, ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์ เป็นต้น เคยถูกจับกุมในข้อหากบฏคิดล้มล้างรัฐบาลในกรณีกบฏพระยาทรงสุรเดช ได้ถูกพิพากษาให้จำคุกตลอดชีวิต หลังจากนั้นไม่กี่ปีก็ถูกเนรเทศไปจำที่ทัณฑนิคมเกาะเต่า สุราษฎร์ธานี พร้อมกับหม่อมราชวงศ์นิมิตรมงคล นวรัตน นักโทษการเมืองคดีเดียวกันอีกคนที่หนึ่งด้วย เมื่อพ้นโทษออกมา ได้กลับมาสู่เส้นทางทางการเมืองใหม่ ได้รับฉายาว่า "ผู้แทนคนยาก" เนื่องจากเป็นผู้ที่ริเริ่มการหาเสียงด้วยโทรโข่ง ไปพบปะกับชาวบ้านด้วยการเดินหาเสียงตามบ้านเรือน ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2489 เนื่องจากไม่มีทุนรอนในการหาเสียง จึงใช้วิธีตะโกนพูดผ่านโทรโข่งบนอานรถสามล้อถีบ พูดท่ามกลางชุมชนตามตลาดบ้าง ตามลานวัดเก่า ๆ บ้าง มีคนถีบสามล้อเป็นขบวนนำ หยุดพูดที่ไหนก็ให้ ดร.โชติ ยืนสองเท้าเหยียบบนอานรถสองคันตะโกนใส่ลำโพง โดยหาเสียงไปพร้อมกับ นายควง อภัยวงศ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ซึ่งต่างก็ใช้วิธีด้วยเช่นกัน ต่อมา เมื่อมีการก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้น ดร.โชติ คุ้มพันธ์ ได้เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคด้วย โดยยุบพรรคประชาธิปไตยของตนเข้าร่วมกับพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนจะเกิดเหตุการณ์รัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 พรรคประชาธิปัตย์ ได้จัดให้มีงานการกุศลที่สวนอัมพร ดร.โชติ ได้เป็นผู้ถีบรถสามล้อ โดยมี พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นั่ง เพื่อเก็บเงินเพื่อการกุศลด้วย หลังการรัฐประหารเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีแทน นายควง อภัยวงศ์ สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์หลายคนได้ลาออกจากพรรคไป ดร.โชติ เป็นหนึ่งในสมาชิกพรรคที่ลาออกไปด้วย และถึงแก่กรรมลงอย่างเงียบ ๆ ในปี 2514.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และโชติ คุ้มพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เกษม บุญศรี

กษม บุญศรี (16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 22 ตุลาคม พ.ศ. 2531) อดีตแม่กองธรรมสนามหลวง ราชบัณฑิตภาคีสมาชิก อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 2 สมัย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 1 สมั.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเกษม บุญศรี · ดูเพิ่มเติม »

เลื่อน พงษ์โสภณ

นาวาอากาศเอก เลื่อน พงษ์โสภณ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนช่างกลแห่งแรกในประเทศไทย ปรมาจารย์มอเตอร์ไซค์ไต่ถัง นักบิน ผู้ประดิษฐ์รถสามล้อ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมคนแรกของประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมั.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเลื่อน พงษ์โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

เลียง ไชยกาล

นาย เลียง ไชยกาล นักการเมืองไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยและอดีตหัวหน้าพรรคประชาชน เป็นผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี นายเลียง เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเลียง ไชยกาล · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เทพ โชตินุชิต

นายเทพ โชตินุชิต เป็นอดีตนักการเมือง นักกฎหมาย และทนายความชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีที่ไม่ประจำกระทรวง และเป็นหัวหน้าพรรคการเมือง 2 พรรค คือ พรรคเศรษฐกร (พ.ศ. 2498 - พ.ศ. 2501) และพรรคแนวร่วม-เศรษฐกร (พ.ศ. 2511 - พ.ศ. 2514).

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และเทพ โชตินุชิต · ดูเพิ่มเติม »

6 เมษายน

วันที่ 6 เมษายน เป็นวันที่ 96 ของปี (วันที่ 97 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 269 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และ6 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Army General Staff Plotรัฐประหาร 6 เมษายน พ.ศ. 2491รัฐประหารเงียบสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย พ.ศ. 2491)สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2491สภาร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2491

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »