โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา

ดัชนี รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา

รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา (seventeen-article constitution) เป็นงานที่เจ้าชายโชโตะกุ (Shōtoku) นิพนธ์ขึ้นเมื่อปี 604 ตามความในพงศาวดารญี่ปุ่นซึ่งเผยแพร่เมื่อปี 720 ต่อมา พระนางซุอิโกะ (Suiko) ทรงตรานิพนธ์นั้นเป็นกฎหมายซึ่งภายหลังนิยมเรียกกันว่ารัฐธรรมนูญ และถือกันว่า เป็นหนึ่งในเอกสารซึ่งบังคับบัญชาเรื่องศีลธรรมฉบับเริ่มแรกที่สุดในประวัติศาสตร์ รัฐธรรมนูญมีเนื้อความหลักดังนี้.

7 ความสัมพันธ์: รัฐธรรมนูญรัฐธรรมนูญสหรัฐรัตนตรัยลัทธิขงจื๊อศาสนาพุทธจักรพรรดินีซุอิโกะเจ้าชายโชโตะกุ

รัฐธรรมนูญ

มหากฎบัตร (Magna Carta) รัฐธรรมนูญ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบั..2525 ให้ความหมายว่า "รัฐธรรมนูญ" คือกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ ในความหมายอย่างแคบ "รัฐธรรมนูญ" กฎหมายฉบับหนึ่งหรือหลายฉบับซึ่งรวบรวมกฎเกณฑ์การปกครองประเทศขึ้นไว้ และไม่ใช่สิ่งเดียวกับ กฎหมายรัฐธรรมนูญ เพราะ "กฎหมายรัฐธรรมนูญ" มีความหมายกว้างกว่าและจะเป็นรูปแบบลายลักษณ์อักษรหรือจารีตประเพณีก็ได้ รัฐธรรมนูญในปัจจุบันนั้น มีทั้งเป็นลักษณะลายลักษณ์อักษร และลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยที่ลักษณะไม่เป็นลายลักษณ์อักษร นอกจากจะใช้หลักของจารีต ประเพณีการปกครองแล้ว กฎหมายทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ย่อมถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญด้วย ทุกประเทศทั่วโลกมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทั้งประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมถึงประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการ เพื่อใช้เป็นหลักหรือเป็นแนวทางในการบริหารประเท.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและรัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญสหรัฐ

รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐ (United States Constitution) เป็นกฎหมายสูงสุดของสหรัฐอเมริกา เป็นกรอบการปฏิบัติสำหรับหน่วยงานของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐ และกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถิ่นของรัฐต่าง ๆ รวมถึงประชาชนทุกคนที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาด้วย สามมาตราแรกของรัฐธรรมูญตั้งกฎและการแบ่งแยกอำนาจเป็นสามส่วนของรัฐบาลกลาง ได้แก่ ฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภาแบบสองสภา ฝ่ายบริหารนำโดยประธานาธิบดี และฝ่ายตุลาการนำโดยศาลสูงสุด สี่มาตราสุดท้ายวางกรอบหลักระบอบสหพันธรัฐ รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐได้ประกาศใช้เมื่อวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1787 ในที่ประชุม ณ ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย และรับรองโดยการประชุมในรัฐต่าง ๆ ในนามของประชาชน โดยจนถึงปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐได้ถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข มาแล้ว 27 ครั้ง โดยสิบครั้งแรกเป็นที่รู้จักในนามของ รัฐบัญญัติสิทธิ (Bill of Rights) รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐจัดเป็นรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อักษณที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม หากรวมรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรเข้าไปด้วย รัฐธรรมนูญของกรุงซานมาริโน จะเก่าแก่กว่า รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐจัดเป็นหัวใจหลักของกฎหมายในสหรัฐอเมริกาและวัฒนธรรมทางการเมือง โดยต้นฉบับดั้งเดิม ที่เขียนโดยนายจาคอป ชาลัส ได้จัดแสดงไว้ที่ องค์การบริหารจดหมายเหตุและบันทึกแห่งชาติ (National Archives and Records Administration) ณ กรุงวอชิงตัน ดีซี อ.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและรัฐธรรมนูญสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รัตนตรัย

ระรัตนตรัย หรือพระไตรรัตน์ หมายถึง แก้วสามประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน ที่เรียกว่า รัตน (แก้ว) เพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐ มีค่าสูง และหาได้ยาก เทียบด้วยดวงแก้วมณี พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า, พระธรรม และพระสงฆ์ ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะ, ธรรมรัตนะ, สังฆรัตนะ ซึ่งได้แก.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและรัตนตรัย · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีซุอิโกะ

ักรพรรดินีซุอิโกะ (Empress Suiko; 554 – 15 เมษายน 628) เป็นพระเจ้าแผ่นดินญี่ปุ่นองค์ที่ 33Imperial Household Agency (Kunaichō): ตามลำดับการสืบสันตติวงศ์แต่โบราณ พระนางอยู่ในตำแหน่งตั้งแต่ปี 593 จนสวรรคตเมื่อปี 628 ตามประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นแล้ว นางเป็นสตรีคนแรกในบรรดาแปดคนที่ได้เป็นจักรพรรดินี (empress regnant) อีกเจ็ดคนที่เหลือ คือ โคเงียวกุ (Kōgyoku), จิโต (Jitō), เก็มเม (Gemmei), เก็นโช (Genshō), โคเก็ง (Kōken), เมโช (Meishō) และโกะ-ซะกุระมะชิ (Go-Sakuramachi) ตามลำดั.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและจักรพรรดินีซุอิโกะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโชโตะกุ

้าชายโชโตะกุ (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 1115 – 8 เมษายน พ.ศ. 1165) รู้จักกันในพระนามเจ้าชายอุมะยะโดะ หรือเจ้าชายคะมิสึยะ เป็นผู้ปกครองในยุคอะซุกะแห่งประเทศญี่ปุ่น อยู่ภายใต้อำนาจการปกครองของจักรพรรดินีซุอิโกะ พระองค์เป็นพระราชโอรสของจักรพรรดิโยเมและเจ้าหญิงอะนะโนะเบะ โนะ ฮะชิฮิโตะ พระบิดาและพระมารดาเป็นพระญาติของตระกูลโซะกะ ซึ่งมีอำนาจมากในสมัยนั้น และพระองค์ทรงเกี่ยวพันกับการกำจัดตระกูลโมะโนะโนะเบะอีกด้วย หลักฐานสำคัญที่ใช้อ้างอิงพระประวัติและพระกรณียกิจนั้นมาจากพงศาวดารญี่ปุ่นนามนิฮงโชะก.

ใหม่!!: รัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตราและเจ้าชายโชโตะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Seventeen-article constitution

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »