โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)

ดัชนี การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน หรือ เอ็มอาร์ที เป็นระบบขนส่งมวลชนทางรางขนาดใหญ่ที่ให้บริการครอบคลุมในนครรัฐสิงคโปร์ โดยส่วนแรกที่เปิดให้บริการ ระหว่างสถานี Yio Chu Kang และ Toa Payoh โดยเปิดให้บริการส่วนนี้ในปี ค.ศ. 1987 ทำให้มันเป็นระบบรถไฟฟ้าที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากรถไฟเบามะนิลา หลังจากนั้น โครงข่ายก็เติบโตอย่างรวดเร็ว มีผู้โดยสารมาใช้บริการถึง 3.031 ล้านคนในปี 2015 ระบบขนส่งมวลชนสิงคโปร์ มีจำนวนสถานีรถไฟฟ้า 104 สถานี ครอบคลุมระยะทาง ใช้รางมาตรฐาน ทำการก่อสร้างโดย Land Transport Authority.

17 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2530กระแสไฟฟ้ามะนิลาไลต์เรลระบบขนส่งมวลชนเร็วรายชื่อระบบรถไฟในเมืองรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายวงกลมรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายดาวน์ทาวน์รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ตะวันออกรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ใต้รถไฟรางเบาสิงคโปร์สถานีบูกิสสถานีมารีนาเซาท์เพียร์สถานีจูรงตะวันออกสถานีท่าอากาศยานชางงีสแตนดาร์ดเกจประเทศสิงคโปร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

กระแสไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และกระแสไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

มะนิลาไลต์เรล

มะนิลาไลต์เรล หรือรู้จักกันในชื่อ LRT เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทหนึ่งในเมโทรมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นระบบรถไฟฟ้ารางเบา ดำเนินการโดย Light Rail Transit Authority (LRTA) ซึ่งดำเนินการพร้อมกันกับมะนิลาเมโทร (MRT-3 หรือสายสีน้ำเงิน) และการรถไฟแห่งชาติฟิลิปปินส์ (PNR) เป็นส่วนหนึ่งของระบบขนส่งมวลชนแห่งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (SRTS) สถิติผู้โดยสาร 2.1 ล้านคนต่อวัน มีจำนวน 31 สถานี ระยะทาง 31 กิโลเมตร (19 ไมล์) เป็นทางยกระดับ 2 ทางวิ่ง สำหรับสาย 1 หรือ สายสีเหลือง เปิดให้บริการในปี..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และมะนิลาไลต์เรล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีรถไฟฟ้าใต้ดิน.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และระบบขนส่งมวลชนเร็ว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟในเมือง

ประเทศที่มีระบบรถไฟในเมือง นครและเมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง รายชื่อระบบรถไฟในเมือง (Metro) ของประเทศต่าง ๆ มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก โดยที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และรายชื่อระบบรถไฟในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายวงกลม

วงกลม (CCL) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่สี่ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์) มีระยะทาง 31 สถานี และเป็นระบบไร้คนขับ ใช้เวลาในการเดินทาง 1 ชั่วโมง สีประจำเส้นทางคือ สีส้ม on the rail map.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายวงกลม · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายดาวน์ทาวน์

รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายดาวน์ทาวน์ (DTL) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่ 5 ในนครรัฐสิงคโปร์ ระบบการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์) เปิดให้บริการระยะแรกเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายดาวน์ทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ตะวันออก

รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ตะวันออก (NEL) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าแห่งที่สามของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินแบบตลอดเส้นทางที่ไร้คนขับยาวที่สุดเป็นอันดับที่สองของโลก รองจากรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายวงกลม มีระยะทาง 20 กิโลเมตร 16 สถานี และใช้เวลาในการเดินทาง 33 นาที สีประจำเส้นทางคือ สีม่วง.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ใต้

หนือ-ใต้ เป็นเส้นทางแรกของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์) มีระยะทาง 45 กิโลเมตร 26 สถานี (นับรวมกับสถานีส่วนต่อขยายที่จะเปิดให้บริการในปี ค.ศ. 2014) สีประจำเส้นทางคือ สีแดง.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟรางเบาสิงคโปร์

แผนที่รถไฟฟ้าสายต่าง ๆ ในประเทศสิงคโปร์ (สายรถไฟฟ้ารางเบา จะแสดงด้วยสีเทา) รถไฟรางเบาสิงคโปร์ เป็นสายรถไฟฟ้ารางเบาในประเทศสิงคโปร์ ให้บริการควบคู่กับรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสิงคโปร์ เปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และรถไฟรางเบาสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบูกิส

นชาลาสายตะวันออก-ตะวันตก ทางเข้า-ออกของสถานี สถานีบูกิส เป็นสถานีเปลี่ยนเส้นทางระหว่างสายตะวันออก-ตะวันตก และสายดาวน์ทาวน์ ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสิงคโปร์ ตั้งอยู่ใกล้กับศูนย์การค้า บูกิสพลัส, จัตุรัสซิมลิม, หมู่บ้านบูกิส, แยกบูกิส, หอสมุดแห่งชาติ และกัมปงแกลม สถานีบูกิสของสายตะวันออก-ตะวันตก ตั้งอยู่ใกล้กับแยกบูกิส มีทางเดินเชื่อมไปยังศูนย์การค้า ตัวสถานีได้รับการออกแบบใกล้เคียงกับสถานีลาเวนเดอร์ แต่จะแตกต่างกันตรงสีไฟที่ใช้ ส่วนสถานีบูกิสของสายดาวน์ทาวน์ ตั้งอยู่บริเวณพื้นที่ที่เคยเป็นโรงแรม 7 ชั้น เปิดใช้งานครั้งแรกเมื่อ 22 ธันวาคม..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และสถานีบูกิส · ดูเพิ่มเติม »

สถานีมารีนาเซาท์เพียร์

นีมารีนาเซาท์เพียร์ เป็นสถานีรถไฟฟ้าปลายทางฝั่งใต้ของรถไฟฟ้าสิงคโปร์ สายเหนือ-ใต้ ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่ถมทะเล ใกล้กับ มารีนาเซาท์เพียร์ และ มารีนาเบย์ครุยซ์เซ็นเตอร์ เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และสถานีมารีนาเซาท์เพียร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีจูรงตะวันออก

นอกสถานีจูรงตะวันออก มีรถไฟฟ้าซีเมนส์ ซี 651 ขบวนหนึ่ง กำลังเข้าสู่สถานี สถานีจูรงตะวันออก เป็นสถานียกระดับของรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสิงคโปร์ สายเหนือ-ใต้ (เคยเป็นสายย่อยจนถึงปี ค.ศ. 1996) และ สายตะวันออก-ตะวันตก มีชานชาลาเปลี่ยนเส้นทางสำหรับรถไฟฟ้าทั้งสองสาย สถานีรถไฟฟ้าแห่งนี้ อยู่ทางฝั่งตะวันออกของย่านจูรง มีรถไฟฟ้าช่วยในการเชื่อมต่อระหว่างย่านที่พักอาศัยยูฮัว, สวนเทบัน, สวนธุรกิจนานาชาติ, ย่านตกตัก ไปยังส่วนอื่น ๆ ของเกาะ นับเป็นสถานีรถไฟฟ้าที่มีความหนาแน่นมากที่สุดแห่งหนึ่งในสิงคโปร์ สถานีนี้เป็นสถานีต้นทาง-ปลายทางของสายเหนือ-ใต้ ในช่วงชั่วโมงเร่งด่วน จะมีรถไฟฟ้าวิ่งเพิ่มมาจากศูนย์ซ่อมบำรุงอูลูปันดัน เพื่อมาตั้งต้นทางที่นี่ ส่วนสายตะวันออก-ตะวันตก สถานีนี้ตั้งอยู่ระหว่างสถานีสวนจีน กับสถานีเคลเมนติ และยังเป็นสถานีเริ่มแรกที่มีเสียงประกาศตามสถานี นับตั้งแต่เปิดใช้งานสายย่อย เมื่อปี ค.ศ. 1990 ทางตอนระหว่างสถานีจูรงตะวันออก กับสถานีเคลเมนติ เป็นทางตอนที่ยาวที่สุดของสายตะวันออก-ตะวันตก ใช้เวลาเดินทางในช่วงนี้ 4 นาที สถานีจูรงตะวันออก เป็น 1 ใน 4 สถานี ที่เคยปรากฏในเกมเศรษฐีของสิงคโปร.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และสถานีจูรงตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

สถานีท่าอากาศยานชางงี

ป้ายแสดงเวลารถไฟฟ้าที่สถานีท่าอากาศยานชางงี ชานชาลาอยู่บนชั้นเดียวกัน สถานีท่าอากาศยานชางงี (CG2) เปิดใช้งานเมื่อวันที่ 27 กุมภาพัน..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และสถานีท่าอากาศยานชางงี · ดูเพิ่มเติม »

สแตนดาร์ดเกจ

แตนดาร์ดเกจ หรือ รางขนาดมาตรฐานยุโรป (European standard gauge)เป็นขนาดความกว้างรางรถไฟที่มีการใช้กันมากที่สุด โดยคิดเป็นประมาณ 60% ของรางรถไฟทั่วโลก ระยะห่างภายในของรางรถไฟมีขนาด 1.435 เมตร (4 ฟุต 8 1/2 นิ้ว) สแตนดาร์ดเกจยังมีชื่อเรียกว่า สตีเฟนซันเกจ ตั้งชื่อตาม จอร์จ สตีเฟนซัน ความกว้าง 1.435 นี้เป็นระยะห่างของล้อรถม้าและเกวียนในสมัยโรมันโบราณ ซึ่งเป็นระยะที่กว้างพอที่จะทำให้ม้า 2 ตัวแบบเรียงหน้ากระดาน สามารถลากจูงรถได้โดยที่ลำตัวไม่เบียดกันเวลาม้าวิ่ง.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และสแตนดาร์ดเกจ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน (สิงคโปร์)และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ระบบขนส่งมวลชนสิงคโปร์ระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูง (สิงคโปร์)รถไฟฟ้าสิงคโปร์รถไฟใต้ดินสิงคโปร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »