โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รวี ศังกร

ดัชนี รวี ศังกร

รวี ศังกร (রবি শংকর;Ravi Shankar, 7 เมษายน ค.ศ. 1920 - 11 ธันวาคม ค.ศ. 2012) เป็นนักเล่นซีตาร์และนักประพันธ์ชาวอินเดีย หนังสือ Musik in Geschichte und Gegenwart กล่าวว่าเขาเป็นนักดนตรีร่วมสมัยชาวอินเดียที่เป็นที่รู้จักที่สุด รวีเกิดในเมืองพาราณสีและใช้ชีวิตวัยรุ่นในการออกทัวร์ในยุโรปและอินเดียกับกลุ่มเต้นรำของพี่ชาย อุทัย ศังกร เขาหันหลังให้กับการเต้นรำในปี..

11 ความสัมพันธ์: บริติชราชพาราณสีรางวัลแกรมมีสัตยชิต รายจอร์จ แฮร์ริสันจอห์น โคลเทรนคริสต์ทศวรรษ 1960นอราห์ โจนส์นิวเดลีเยฮูดิ เมนูฮินเดอะบีเทิลส์

บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: รวี ศังกรและบริติชราช · ดูเพิ่มเติม »

พาราณสี

ราณสี (Bārāṇasī พาราณสี; वाराणसी, Vārāṇasī วาราณสี) เป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสี (Kingdom of Kashi) ในสมัยพุทธกาล ปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง 320 กิโลเมตร พาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่าน เป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ (สัปดาปุริ, Sapta Puri) ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชน พาราณสีมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า 4,000 ปี เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วย ถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพ ถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลก ครั้งสมัยอาณานิคม เมืองนี้มีชื่อว่า เบนาเรส (Benares) พาราณสียังเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้าน โดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า สารน.

ใหม่!!: รวี ศังกรและพาราณสี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลแกรมมี

รางวัลแกรมมี รางวัลแกรมมี (Grammy Award) มีชื่อเต็มว่า Gramophone Awards เป็นรางวัลทางดนตรี และศิลปิน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะวิทยาการการบันทึกเสียงแห่งสหรัฐอเมริกา (National Academy of Recording Arts and Sciences:NARAS) เป็นรายการแจกรางวัลให้ผู้มีผลงานโดดเด่นในอุตสาหกรรมการดนตรี จัดขึ้นเป็นประจำปีในสหรัฐอเมริกา โดยมากจะจัดในเดือนกุมภาพันธ์ มีสาขารางวัลถึง 108 สาขา ใน 30 แนวเพลง เป็นการโหวดโดยคณะกรรมการใน NARAS(คณะกรรมการที่เคยโหวดเช่น จอน บอน โจวี, ปริ้นซ์, Anand Bhatt, พอล ไซม่อน, เป็นต้น) รางวัลแกรมมีเริ่มมีการมอบรางวัลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 โดยเริ่มถ่ายทอดสดในปี 1971.

ใหม่!!: รวี ศังกรและรางวัลแกรมมี · ดูเพิ่มเติม »

สัตยชิต ราย

ัตยชิต ราย (সত্যজিৎ রায়; Satyajit Ray) (2 พฤษภาคม ค.ศ. 1921 - 23 เมษายน ค.ศ. 1992) เป็นผู้สร้างภาพยนตร์เบงกอลชาวอินเดีย เขาได้รับการยกย่องเป็น 1 ในผู้สร้างภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในวงการภาพยนตร์ในศตวรรษที่ 20 สัตยชิตเกิดในเมืองกัลกัตตา (ปัจจุบันคือ โกลกาตา) ในครอบครัวชาวเบงกอลในโลกแห่งศิลปะและอักษร เขาเริ่มต้นอาชีพด้วยการเป็นศิลปินโฆษณา หลังจากนั้นได้เข้าสู่วงการสร้างภาพยนตร์อิสระ หลังจากรู้จักกับผู้สร้างภาพยนตร์ชาวฝรั่งเศส ฌอง เรอนัวร์และได้ดูภาพยนตร์อิตาลีที่ชื่อ Bicycle Thieves ในระหว่างเยี่ยมเมืองลอนดอน สัตยชิตกำกับภาพยนตร์ 37 เรื่อง รวมถึงภาพยนตร์ สารคดีและภาพยนตร์สั้น เขายังเป็นนักเขียนนวนิยาย ผู้โฆษณา ผู้วาดภาพประกอบ นักออกแบบกราฟิกและนักวิจารณ์ภาพยนตร์ ผลงานภาพยนตร์เรื่องแรกของเขาเรื่อง Pather Panchali (1955) ได้รับ 11 รางวัลระดับนานาชาติ รวมถึงในสาขาสารคดีมนุษย์ยอดเยี่ยมจากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ ร่วมไปกับภาพยนตร์ Aparajito (1956) และ Apur Sansar (1959) ที่เป็น 3 เรื่องใน The Apu Trilogy สัตยชิตยังเขียนสคริปต์ คัดเลือกนักแสดง ทำเพลงประกอบ ถ่ายภาพ กำกับศิลป์ ตัดต่อและออกแบบไตเติลเครดิตและอื่น ๆ เขาได้รับรางวัลใหญ่หลายครั้งในอาชีพการงาน รวมถึง 32 รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติอินเดีย หลายรางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์และงานแจกรางวัล และยังได้รับรางวัลเกียรติยศ รางวัลออสการ์ในปี 1992.

ใหม่!!: รวี ศังกรและสัตยชิต ราย · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ แฮร์ริสัน

อร์จ แฮร์ริสัน (George Harrison) MBE (25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1943 – 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2001) เป็นมือกีตาร์ชาวอังกฤษ นักร้อง-นักแต่งเพลง ผู้สร้างภาพยนตร์ เขาประสบความสำเร็จในระดับนานาชาติจากการเป็นมือกีตาร์ลีดให้กับวงเดอะบีทเทิลส์ และยังมีชื่ออยู่อันดับ 21 ของการจัดอันดับในนิตยสารโรลลิงสโตนในหัวข้อ "100 นักกีตาร์ที่เยี่ยมที่สุดตลอดกาล" มักถูกพูดถึงว่าเป็น "บีทเทิลที่เงียบขรึม" (the quiet Beatle) แฮร์ริสันเชื่อเรื่องเวทมนตร์อินเดีย และยังทำให้ฐานคนฟังของเดอะบีทเทิลส์กว้างขึ้นเช่นเดียวกับกลุ่มผู้ฟังตะวันตก หลังจากที่วงแตกไป เขาประสบความสำเร็จในฐานะศิลปินเดี่ยวและต่อมาก็อยู่ในวง แทรเวลลิงวิลบูรีส์ และยังเป็นโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์และเพลงอีกด้วย ถึงแม้ว่าเพลงโดยมากของเดอะบีทเทิลส์จะแต่งโดยเลนนอนและแม็กคาร์ตนีย์ แฮร์ริสันก็ยังแต่งเพลง 1 หรือ 2 เพลงต่ออัลบั้มตั้งแต่ชุด Help! เป็นต้นมา ผลงานเขาที่ร่วมกับเดอะบีทเทิลส์เช่นเพลง "Here Comes the Sun", "Something", "I Me Mine" และ "While My Guitar Gently Weeps" หลังจากวงแตกไป แฮร์ริสันก็ยังเขียนเพลง ออกผลงานทริปเปิลอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จอย่าง All Things Must Pass ในปี 1970 ที่มี 2 ซิงเกิ้ลและ ดับเบิลเอ-ไซด์ซิงเกิล: "My Sweet Lord" กับ Isn't It a Pity" นอกจากนี้ในงานเดี่ยว แฮร์ริสันยังร่วมเขียนเพลงฮิต 2 เพลงให้กับริงโก สตารร์ อดีตสมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์อีกคน และเพลงในวงแทรเวลลิงวิลบูรีส์ วงซูเปอร์กรุ๊ป ที่ฟอร์มวงในปี 1988 ร่วมกับบ็อบ ดีแลน, ทอม เพตตี, เจฟฟ์ ลีนน์ และรอย ออร์บิสัน แฮร์ริสัน ได้รับวัฒนธรรมอินเดียและฮินดู ในช่วงทศวรรษ 1960 และช่วยให้ความรู้กับคนตะวันตกด้วยเพลงซิตาร์ และกลุ่มเคลื่อนไหวฮาเร กฤษณะ เขาร่วมกับระวี ชังการ์ จัดคอนเสิร์ตการกุศลในปี 1971 ที่ชื่อ Concert for Bangladesh และเขาถือเป็นคนเดียวในเดอะบีทเทิลส์ที่พิมพ์อัตชีวประวัติ ขึ้นที่ชื่อ I Me Mine ในปี 1980 นอกจากการเป็นนักดนตรีแล้ว เขายังเป็นโปรดิวเซอร์เพลง และร่วมก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ชื่อ แฮนด์เมดฟิล์มส งานของเขาในฐานะผู้สร้างภาพยนตร์ เขาร่วมงานกับผู้คนหลากหลายอย่าง มาดอนน่า และสมาชิกของกลุ่มมอนตี้ ไพธอน ด้านชีวิตส่วนตัวเขาแต่งงาน 2 ครั้ง ครั้งแรกกับนางแบบ แพตตี บอยด์ ในปี 1966 และเลขาบริษัทค่ายเพลงที่ชื่อ โอลิเวีย ทรินิแดด อาเรียส ในปี 1978 ที่มีลูกชายด้วยกัน 1 คน ชื่อ ดานี แฮร์ริสัน เขายังเป็นเพื่อนสนิทกับอีริก แคลปตัน และอีริก ไอเดิล เขาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในปอดเมื่อปี 2001.

ใหม่!!: รวี ศังกรและจอร์จ แฮร์ริสัน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น โคลเทรน

อห์น วิลเลียม "เทรน" โคลเทรน (23 กันยายน ค.ศ. 1926 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1967) นักแซกโซโฟน นักแต่งเพลง และหัวหน้าวงดนตรีแจ๊ซชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีแนวบีบ็อพ ฮาร์ดบ็อพ ต่อมาได้ร่วมวงกับไมล์ส เดวิส และทีโลเนียส มังค์ เป็นแนวหน้าในการพัฒนาดนตรีในแนวฟรีแจ๊ซ จอห์น โคลเทรนได้การยอมรับว่าเป็นนักเทเนอร์แซกโซโฟนคนสำคัญคนหนึ่งของวงการดนตรีแจ๊ซ ที่มีอิทธิพลต่อนักดนตรีรุ่นหลังเป็นจำนวนมาก จนได้รับการยกย่องในการประกาศผลรางวัลพูลิตเซอร์ ประจำปี 2007 สำหรับ "masterful improvisation, supreme musicianship and iconic centrality to the history of jazz." จอห์น โคลเทรนเสียชีวิตด้วยวัยเพียง 40 ปี จากโรคมะเร็งตับ ที่นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: รวี ศังกรและจอห์น โคลเทรน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1960

..

ใหม่!!: รวี ศังกรและคริสต์ทศวรรษ 1960 · ดูเพิ่มเติม »

นอราห์ โจนส์

นอราห์ โจนส์ (গীতালি নোরা জোনস শঙ্কর, Geethali Norah Jones Shankar) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม..

ใหม่!!: รวี ศังกรและนอราห์ โจนส์ · ดูเพิ่มเติม »

นิวเดลี

นิวเดลี (New Delhi; नई दिल्ली) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินเดี.

ใหม่!!: รวี ศังกรและนิวเดลี · ดูเพิ่มเติม »

เยฮูดิ เมนูฮิน

กภาพยนตร์ ''Stage Door Canteen'', 1943 เยฮูดิ เมนูฮิน (Yehudi Menuhin) (22 เมษายน ค.ศ. 1916-12 มีนาคม ค.ศ. 1999) เป็นนักไวโอลิน คอนดักเตอร์ ที่มีอาชีพการแสดงส่วนใหญ่ในสหราชอาณาจักร เขาเกิดในครอบครัวยิวในสหรัฐอเมริกา แต่ต่อมาได้ถือสัญชาติสวิตเซอร์แลนด์ในปี..

ใหม่!!: รวี ศังกรและเยฮูดิ เมนูฮิน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบีเทิลส์

อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.

ใหม่!!: รวี ศังกรและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ravi Shankarรวี แชงการ์ระวี ชังการ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »