โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะ

ดัชนี รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะ

รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะ (大阪市営地下鉄) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในเมืองโอซากะและปริมณฑล ภูมิภาคคันไซ มีผู้โดยสารประมาณ 13 คนต่อวัน ดำเนินการโดยการคมนาคมเทศบาลโอซาก.

13 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2476รายชื่อระบบรถไฟในเมืองรางที่สามสายมิโดซุจิสายอิมะซะโตะซุจิสายทะนิมะชิสายซะไกซุจิสายนะงะโฮะริซึรุมิ-เรียวกุชิสายนังโกพอร์ตทาวน์สายโยะสึบะชิสายเซ็นนิชิมะเอะคันไซโอซากะ

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟในเมือง

ประเทศที่มีระบบรถไฟในเมือง นครและเมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง รายชื่อระบบรถไฟในเมือง (Metro) ของประเทศต่าง ๆ มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก โดยที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ. 2406 ปัจจุบันมีเมืองทั้งหมด 162 เมืองที่มีระบบรถไฟในเมือง.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและรายชื่อระบบรถไฟในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและรางที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

สายมิโดซุจิ

มิโดซุจิ (御堂筋線) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าใต้ดินในระบบรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ นครโอซะกะ ดำเนินการโดยการคมนาคมเทศบาลโอซะกะ ก่อสร้างตามแนวถนนมิโดซุจิ เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าสายแรกในโอซะกะ และสายที่ 2 ในประเทศญี่ปุ่น ถัดจากโตเกียวเมโทร สายกินซะ ทุกสถานี ตัวย่อขึ้นต้นด้วยตัว M.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายมิโดซุจิ · ดูเพิ่มเติม »

สายอิมะซะโตะซุจิ

อิมะซะโตะซุจิ (今里筋線) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ วิ่งจากสถานี ไปยังสถานี ภายในนครโอซะกะ ตัวย่อของเส้นทางคือตัว I วันที่เปิดให้บริการครั้งแรกนั้น ตรงกับคริสต์มาสอีฟ (24 ธันวาคม) ในปี..

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายอิมะซะโตะซุจิ · ดูเพิ่มเติม »

สายทะนิมะชิ

ทะนิมะชิ (สาย 2) (谷町線) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้า ระบบรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะแห่งนครโอซะกะ ภูมิภาคคันไซ ประเทศญี่ปุ่น ชื่อทางการคือ รถรางด่วนไฟฟ้า สาย 2 (高速電気軌道第2号線) ทุกสถานี มีตัวย่อขึ้นต้นด้วยตัว T จุดเด่นของเส้นทางนี้คือ มีตู้รถไฟฟ้าสำหรับสุภาพสตรี ในคันที่ 3 ของทุกขบวน ซึ่งใช้มาตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายทะนิมะชิ · ดูเพิ่มเติม »

สายซะไกซุจิ

ซะไกซุจิ (สาย 6, สายสีน้ำตาล) (堺筋線) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในนครโอซะกะ ดำเนินการโดยรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ มีชื่อเรียกต่าง ๆ ได้แก่ รถไฟฟ้าด่วนสาย 6 (高速電気軌道第6号線) รถไฟฟ้าด่วนนครโอซะกะสาย 6 (大阪市高速鉄道第6号線) และ รถไฟฟ้าสาย 6 (6号線(堺筋線)) ตัวย่อของเส้นทางคือ K.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายซะไกซุจิ · ดูเพิ่มเติม »

สายนะงะโฮะริซึรุมิ-เรียวกุชิ

นะงะโฮะริซึรุมิ-เรียวกุชิ (สาย 7, สายสีเขียวอ่อน) (長堀鶴見緑地線) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในนครโอซะกะ ระบบรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ มีชื่อเรียกต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายนะงะโฮะริซึรุมิ-เรียวกุชิ · ดูเพิ่มเติม »

สายนังโกพอร์ตทาวน์

นังโกพอร์ตทาวน์ (南港ポートタウン線) หรือ นิวแทร็ม เป็นระบบขนส่งผู้โดยสารอัตโนมัติในนครโอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น ในระบบรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะก.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายนังโกพอร์ตทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

สายโยะสึบะชิ

ึบะชิ (สาย 3) (四つ橋線) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในนครโอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น ในระบบรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ มีสถานีปลายทาง ได้แก่ นิชิ-อุเมะดะ และซุมิโนะเอะโกเอ็ง ตัวย่อของทุกสถานี ขึ้นต้นด้วยตัว Y.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายโยะสึบะชิ · ดูเพิ่มเติม »

สายเซ็นนิชิมะเอะ

ซ็นนิชิมะเอะ (สาย 5) (千日前線) เป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะในโอซะกะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย การคมนาคมเทศบาลโอซะกะ มีสถานีปลายทางได้แก่ สถานีโนะดะฮันชิน และมินะมิ-ทัตซึมิ ตัวย่อสถานีขึ้นต้นด้วยตัว S.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและสายเซ็นนิชิมะเอะ · ดูเพิ่มเติม »

คันไซ

ันไซ หรือเรียก คิงกิ (近畿) เป็นเขตแดนทางภูมิศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นบนเกาะฮนชู โดยเขตคันไซประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ได้แก่ เฮียวโงะ เคียวโตะ โอซะกะ ชิงะ นะระ วะกะยะมะ และมิเอะ คันไซมีขนาดประมาณ 27,335.11 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 22,757,897 คน (พ.ศ. 2553) อัตราความหนาแน่น 755.39 คน/ตารางกิโลเมตร ภูมิภาคคินคิ หรือที่คนส่วนใหญ่จะเรียกกันในนามของภูมิภาคคันไซ หรือภาคกลางตอนใต้ของญี่ปุ่น ภูมิภาคคันไซแห่งนี้เป็นอีกภูมิภาคที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น นอกเหนือจากภูมิภาคคันโตซึ่งเป็นที่ตั้งของกรุงโตเกียวเมืองหลวง ภูมิภาคคันไซนับเป็นภูมิภาคที่ความเจริญมาช้านานเป็นที่ตั้งของเมืองหลวงของญี่ปุ่นในยุคแรก ๆ ประวัติศาสตร์คือ เมืองนะระและเมืองเคียวโตะ เมืองหลวงทั้งสองแห่งนี้เป็นศูนย์กลางการบริหารประเทศญี่ปุ่นมานับพันปี มีพระราชวังที่ประทับองค์จักรพรรดิหรือพระราชวังอิมพีเรียล ณ เมืองเคียวโตะ ก่อนที่จะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่กรุงโตเกียว นอกจากจะเป็นศูนย์กลางประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นแล้ว ภูมิภาคแห่งนี้ยังเป็นที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรมหลายแห่ง ได้แก่ นครโอซะกะ ศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมสำคัญของประเทศเป็นเมืองใหญ่อันดับสามรองจากกรุงโตเกียวและโยะโกะฮะมะ เมืองเคียวโตะและนารา เมืองหลวงเก่าที่ยังคงอนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุที่สำคัญและงดงามเป็นเมืองแห่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว รวมถึงเมืองโคเบะซึ่งเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

โอซากะ

อซากะ เป็นเมืองที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 2 และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของประเทศญี่ปุ่น และยังเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสามนครเคฮันชิง ตั้งอยู่ในภาคคันไซบนเกาะฮนชู ในเขตจังหวัดโอซากะ เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีสถานะเป็นนครโดยข้อบัญญัติรัฐบาลญี่ปุ่น นครโอซากะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำโยะโดะ อ่าวโอซากะ และทะเลเซะโตะ โอซากะเป็นเป็นเมืองสำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น มีสมญาว่า ครัวของชาติ เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัยเอะโดะ และปัจจุบันเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซากะและโอซากะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

รถไฟใต้ดินเทศบาลโอซะกะ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »