โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยูรี โซโลมิน

ดัชนี ยูรี โซโลมิน

ูรี มีโฟเยวิช โซโลมิน (Ю́рий Мефо́диевич Соло́мин) เป็นนักแสดงชาวรัสเซียและเป็นผู้กำกับโรงละคร Maly Theatre ในมอสโก ตั้งแต่ปี 1988 และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย ในปี 1990 ถึงปี 1991.

7 ความสัมพันธ์: บราติสลาวามอสโกสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียอาดูย์ตันต์เอโวเปรวอสโฮดีเตลสตวาคณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)โบลคาดาเดียร์ซูอูซาลา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2518)

บราติสลาวา

ราติสลาวา (Bratislava) คือเมืองหลวงของประเทศสโลวาเกีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ มีประชากรประมาณ 427,000 คน บราติสลาวาตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสโลวาเกียบน 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบ มีอาณาเขตติดกับประเทศออสเตรียและประเทศฮังการี จึงเป็นเมืองหลวงแห่งเดียวในโลกที่มีอาณาเขตติดต่อกับ 2 ประเทศ เมืองนี้และเวียนนายังเป็นเมืองหลวง 2 แห่งที่ตั้งอยู่ใกล้กันมากที่สุดในยุโรป โดยตั้งอยู่ห่างกันไม่ถึง 60 กิโลเมตร บราติสลาวาเป็นศูนย์กลางทางการปกครอง วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของสโลวาเกีย เป็นที่ตั้งของทำเนียบประธานาธิบดี รัฐสภา และหน่วยงานภาครัฐต่างๆ และยังเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย พิพิธภัณฑ์ โรงละคร หอศิลป์ และสถาบันอื่น ๆ ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการศึกษา รวมทั้งสำนักงานใหญ่ของสถาบันทางธุรกิจและการเงินขนาดใหญ่ของสโลวาเกียจำนวนมาก ประวัติศาสตร์ของเมืองนี้ได้รับอิทธิพลจากหลายเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ออสเตรีย เช็ก เยอรมัน ฮังการี ยิว และสโลวัก โดยในอดีตเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาเยอรมันว่า Pressburg เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรฮังการีภายใต้ Habsburg monarchy ระหว่าง พ.ศ. 2079-2326 และเคยเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ Slovak National Movement เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของชาวสโลวัก ฮังกาเรียน และเยอรมันหลายแห่ง.

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและบราติสลาวา · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

หพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (date|r.

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาดูย์ตันต์เอโวเปรวอสโฮดีเตลสตวา

อาดูย์ตันต์เอโวเปรวอสโฮดีเตลสตวา (Адъютант его превосходительства) เป็นมินิซีรีสของสหภาพโซเวียตมีทั้งหมด 5 ตอน ออกอากาศทางโทรทัศน์ครั้งแรกในปี 1969 โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับสงครามกลางเมืองรัสเซี.

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและอาดูย์ตันต์เอโวเปรวอสโฮดีเตลสตวา · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต)

ณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ หรือ เคจีบี (Комите́т госуда́рственной безопа́сности; ย่อ: КГБ) เป็นอดีตหน่วยงานกลาง ดูแลการข่าว ความมั่นคง ตำรวจสันติบาล และ กิจการชายแดนของสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและคณะกรรมการความมั่นคงแห่งรัฐ (สหภาพโซเวียต) · ดูเพิ่มเติม »

โบลคาดา

ลคาดา (Блока́да) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 4 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับการล้อมเลนินกราด ภาพยนตร์สร้างจากนวนิยายชื่อเดียวกันของ Aleksandr Chakovsky กำกับโดย มีฮาอิล เยียร์ชอฟ ภาคที่หนึ่งและสองออกฉายในวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและโบลคาดา · ดูเพิ่มเติม »

เดียร์ซูอูซาลา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2518)

ียร์ซูอูซาลา (Дерсу Узала, Derusu Uzāra; alternate U.S. title: Dersu Uzala: The Hunter) เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต และ ญี่ปุ่น กำกับโดย อะกิระ คุโรซาวะ ถือเป็นการกำกับภาพยนตร์ที่ไม่ใช่ภาษาญี่ปุ่นเป็นครั้งแรกของคุโรซาวะและใช้ฟิล์มขนาด 70 มิลลิเมตรเพียงครั้งเดี่ยว ภาพยนตร์ได้รับรางวัลโกลเด้นไพรซ์ และ the Prix FIPRESCI ในงานเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมอสโกครั้งที่ 9 และ รางวัลออสการ์ สาขาภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยมในปี 1976 ภาพยนตร์สร้างจากหนังสือ Dersu Uzala (เป็นชื่อเดียวกับพรานป่า) ที่เขียนโดย Vladimir Arsenyev นักสำรวจชาวรัสเซีย เกี่ยวกับการสำรวจภูมิภาค Sikhote-Alin ของดินแดนตะวันออกไกลของรัสเซีย และการสำรวจหลายครั้งในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ยูรี โซโลมินและเดียร์ซูอูซาลา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2518) · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »