สารบัญ
พลทหาร
ลทหาร (ย่อว่า พลฯ)หมายถึง ทหารเกณฑ์ หรือทหารที่สมัครเข้ากองประจำการเพราะกฎหมายบังคับให้ต้องเป็นทหาร คือทหารกองประจำการที่ชั้นยศต่ำสุดในกองทัพ มีหน้าที่รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาแล้วปฏิบัติภารกิจให้สำเร็จ เมื่อบุคคลใดที่ได้รับราชการเป็นทหารเกณฑ์ ก็จะมีตำแหน่งเป็นพลทหาร.
พลตรี
ลตรี (Major general) เป็นยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก ที่ใช้กันในหลายประเทศ ในเครือจักรภพและสหรัฐอเมริกา ในกองพล พลตรีจะอยู่ใต้บังคับบัญชาของพลโท และอยู่ระดับสูงกว่ายศพลจัตวา ในบางประเทศรวมถึงยุโรปตะวันออก ถือว่ายศพลตรีคือยศต่ำที่สุดของนายพล ในประเทศขนาดเล็กเช่นเอสโตเนีย พลตรีถือเป็นยศที่สูงที่สุดในกองทัพ ในสหราชอาณาจักร ยศพลตรี เทียบเท่ากับพลเรือตรีของกองทัพเรือและพลอากาศตรีของกองทัพอาก.
พลโท
พลโท ไฟล์:RTA OF-8 (Lieutenant General).svg พลโท (Lieutenant general) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก ที่ใช้กันในหลายประเทศ เกิดขึ้นในช่วงยุคกลาง พลโทเป็นยศในกองทัพที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากพลเอก ในกองทัพที่ทันสมัย พลโทจะเป็นยศที่ต่ำกว่าพลเอกและสูงกว่าพลตรี เทียบเท่ากับยศพลเรือโทของกองทัพเรือ และเทียบเท่ากับพลอากาศโทในกองทัพอากาศที่มีระดับโครงสร้างที่แยกจากกัน พลโทจะมีอำนาจบัญชาการกองพลซึ่งประกอบไปด้วยทหาร 60,000 – 70,000 นาย พลโท.
พลเอก
ลเอก (General officer) คือ ยศของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในกองทัพบก และในกองทัพเรือและกองทัพอากาศสำหรับบางประเทศ คำว่า "General" หรือ "นายพล" ถูกนำมาใช้ได้สองแบบ คือ โดยทั่วไปหมายถึงนายทหารชั้นยศนายพลทั้งหมดตั้งแต่ พลจัตวา ถึง พลเอก และใช้เฉพาะเจาะจงหมายถึงยศพลเอก.
พันเอก
ันเอก (Colonel อักษรย่อ:Col., Col หรือ COL) เป็นชั้นยศระหว่าง พันโท และ พลจัตวา โดยพันเอกใช้เป็นยศในกองทัพบก, กองทัพเรือ, กองทัพอากาศ และตำรวจ โดยในประเทศไอซ์แลนด์ และ นครรัฐวาติกัน ยศพันเอกถือเป็นยศทหารที่สูงที่สุด โดยในกองทัพเรือยศพันเอกได้ถูกเรียกว่านาวาเอก หรือ ship-of-the-line captain ส่วนในระบบการเทียบยศในกองทัพอากาศเครือจักรภพ ยศพันเอกได้ถูกเรียกว่านาวาอากาศเอก.
สิบตรี
ตรี (ย่อ ส.ต.) หมายถึง ชั้นยศทางทหารบก เมื่อจบการศึกษาตามหลักสูตรทางกองทัพบกกำหนด แตกต่างจากเหล่าทัพ ทัพเรือ ทัพอากาศ จะมีเครื่องหมายยศ(บัง)ไม่เหมือนกัน.
ดูเพิ่มเติม
กองทัพบกที่ถูกยุบ
- กองทัพจักรวรรดิรัสเซีย
- กองทัพบกจักรวรรดิญี่ปุ่น
- กองทัพบกราชอาณาจักรลาว
- กองทัพบกสาธารณรัฐแห่งชาติ
- กองทัพประชาชนบัลแกเรีย
- กองทัพประชาชนมองโกเลีย
- กองทัพประชาชนยูโกสลาเวีย
- กองทัพประชาชนเชโกสโลวัก
- กองทัพประชาชนโปแลนด์
- กองทัพแดง
- กองทัพใหญ่
- ยศทหารเหมิ่งเจียง
สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
- การทัพอินโดจีนฝรั่งเศสครั้งที่สอง
- การบุกครองแมนจูเรียของญี่ปุ่น
- การพักรบตางกู
- ประเทศแมนจู
- พิธีสารญี่ปุ่น-แมนจูกัว
- ยศทหารเหมิ่งเจียง
- รัฐบาลชาตินิยม
- สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
- แนวร่วมที่สอง
เหมิ่งเจียง
- การบุกครองแมนจูเรียของสหภาพโซเวียต
- ยศทหารเหมิ่งเจียง
- เหมิ่งเจียง
หรือที่รู้จักกันในชื่อ ยศทหารเม็งเจียง