สารบัญ
10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2498พระอภัยมณีกระสือ (ละครโทรทัศน์)มนฤดี ยมาภัยรางวัลเมขลาสี่ยอดกุมารสงครามเก้าทัพอุบัติเหตุ (นวนิยาย)ขมิ้นกับปูนตัวเอก
พ.ศ. 2498
ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พระอภัยมณี
ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..
กระสือ (ละครโทรทัศน์)
กระสือ เป็นละครโทรทัศน์ไทย เป็นบทประพันธ์ของ บุราณ ที่เค้าโครงสร้างจาก "ผีกระสือ" ผีพื้นบ้านไทย ถูกนำมาสร้างครั้งแรกในปี พ.ศ.
ดู ยมนา ชาตรีและกระสือ (ละครโทรทัศน์)
มนฤดี ยมาภัย
มนฤดี ยมาภัย นักแสดงชาวไทย เป็นนางเอกยอดนิยมช่วงหนึ่ง ที่มีผลงานสร้างชื่อจากละครโทรทัศน์ ดาวพระศุกร์ (พ.ศ. 2523) และมีผลงานการแสดงมากมายเช่น นักรักรุ่นกระเตาะ นักเลงตราควาย นิสิตใหม่ แม่จอมยุ่ง กุ๊กมือเก่า บัวขาว ฯลฯ.
รางวัลเมขลา
รางวัลเมขลา ผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ รางวัลเมขลา เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดขึ้นโดยสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ.
สี่ยอดกุมาร
ี่ยอดกุมาร เป็นละครโทรทัศน์แนวนิทานพื้นบ้าน จากเค้าโครงเรื่องของ จำปาสี่ต้น เป็นเรื่องราวของเด็กสี่คนที่มีอาวุธสี่อย่างประจำตัว คือ ตรี คทา จักร สัง.
สงครามเก้าทัพ
งครามเก้าทัพ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่าง ๆ ในปี พ.ศ.
อุบัติเหตุ (นวนิยาย)
อุบัติเหตุ เป็นนวนิยายบทประพันธ์ของ กนกเรขา (หรือ ทมยันตี) ตีพิมพ์เป็นตอนๆ แล้วตีพิมพ์ฉบับรวมเล่มครั้งแรกเมื่อ..
ดู ยมนา ชาตรีและอุบัติเหตุ (นวนิยาย)
ขมิ้นกับปูน
มิ้นกับปูน เป็นนวนิยายของ จุลลดา ภักดีภูมินทร์ นามปากกาของหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ สร้างเป็นภาพยนตร์ 1 ครั้ง และละครโทรทัศน์ 4 ครั้ง.
ตัวเอก
ตัวเอก คือบุคคลที่เป็นศูนย์กลางของเรื่อง และมักถูกกล่าวถึงในฐานะที่เป็น ตัวละครหลัก ของเรื่อง เรียกว่า "พระเอก" หากเป็นผู้ชาย และเรียกว่า "นางเอก" หากเป็นผู้หญิง อย่างไรก็ตาม วรรณกรรมบางเรื่องอาจมีเฉพาะพระเอกหรือนางเอกก็ได้ เรื่องจะดำเนินตาม และมักจะมุ่งความสนใจไปที่ตัวเอก (หรือบางครั้งเป็นกลุ่มของตัวเอก) บ่อยครั้งที่เรื่องเล่าด้วยมุมมองของตัวเอก และถ้าในกรณีที่การเล่าเรื่องไม่ได้เป็นแบบการบรรยายแบบบุรุษที่หนึ่ง ความรู้สึกนึกคิดและการกระทำของตัวเอกมักถูกแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนมากกว่าตัวละครอื่น ๆ ตัวเอกมักเป็นตัวละครที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาการ แม้ว่านวนิยายจะมีศูนย์กลางอยู่ที่เหตุการณ์หรือตัวละครอื่น ๆ (เช่นในเรื่องสั้น Bartleby the Scrivernet ของเฮอร์มาน เมลวิลล์) ตัวเอกจะเป็นตัวละครที่มีพลวัตร และมักจะทำให้นิยายคลี่คลายไปในทิศทางที่นำไปสู่บทสรุปหลักของชิ้นงานนั้น และมักทำให้ผู้อ่านเกิดความชื่นชมหรือความสนใจได้ ตัวเอกนั้นไม่จำเป็นต้องเป็นวีรบุรุษของเรื่อง ผู้ประพันธ์หลายคนเลือกเล่าเรื่องจากมุมมองของตัวละครที่อาจไม่ใช่ศูนย์กลางของเรื่อง แต่อยู่ในฐานะที่จะแสดงความคิดเห็นต่อเรื่องราวนั้น อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งกว่าที่เรื่องจะเกี่ยวข้องกับตัวเอก แม้ว่าตัวเอกจะไม่ได้สร้างวีรกรรมอะไรในเรื่องนั้น แต่การกระทำของตัวเอกมักสำคัญต่อการดำเนินเรื่อง นอกจากนี้ตัวเอกกับผู้บรรยายไม่จำเป็นต้องเป็นตัวละครเดียวกัน ทั้งคู่อาจเป็นตัวละครเดียวกันได้ แต่แม้กระทั่งผู้บรรยายบุรุษที่หนึ่งก็ไม่จำเป็นต้องเป็นตัวเอก เนื่องจากผู้บรรยายนั้นอาจแค่รำลึกเรื่องราว โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ในเหตุการณ์จริงเช่นเดียวกับผู้ฟัง.