โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มอเตอร์แนวราบ

ดัชนี มอเตอร์แนวราบ

มอเตอร์เชิงเส้น (Linear Motor) คือมอเตอร์ไฟฟ้าที่ถูกผ่ากลางแล้วแผ่ออกในแนวราบ ซึ่ง rotor แทนที่จะหมุน มันกลับเคลื่อนที่ไปในแนวราบ ตามสูตรของแรงที่ใส่เข้าไปมีสัดส่วนโดยตรงกับกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก นั่นคือ (\vec F.

7 ความสัมพันธ์: ชิงกันเซ็งกระแสไฟฟ้ากระแสเอ็ดดี้สนามแม่เหล็กปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนานปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำแม็กเลฟ

ชิงกันเซ็ง

งกันเซ็งต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันออก ค.ศ. 2012 ชิงกันเซ็งรุ่นต่าง ๆ ที่อู่รถของ JR ตะวันตก ค.ศ. 2008 ชิงกันเซ็ง (แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดำเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดชิงกันเซ็ง (515.4 กม.) ในปี..

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและชิงกันเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

กระแสไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย โดยที่กระแสถูกแสดงด้วยอักษร ''i'' ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันไฟฟ้า (V), ตัวต้านทาน (R), และกระแส (I) คือ V.

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและกระแสไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

กระแสเอ็ดดี้

กระแสเอ็ดดี้ (Eddy current) (หรือบางทีก็เรียกว่ากระแส Foucault) เป็นการไหลวนเป็นหลายวงรอบของกระแสไฟฟ้าที่ถูกเหนี่ยวนำขึ้นภายในตัวนำโดยการเปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็กในตัวนำนั้นตามกฎของการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ กระแสเอ็ดดี้จะไหลเป็นวงรอบปิดภายในตัวนำในระนาบที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก กระแสเหล่านี้สามารถถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภายในตัวนำที่ติดนิ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงโดยสนามแม่เหล็กที่แปรเปลี่ยนตามเวลาที่สร้างขึ้นโดยแม่เหล็กไฟฟ้าหรือหม้อแปลงกระแสสลับ (ตัวอย่าง) หรือโดยการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างแม่เหล็กและตัวนำที่อยู่บริเวณใกล้เคียง ขนาดของกระแสในวงรอบหนึ่งจะเป็นสัดส่วนกับความแรงของสนามแม่เหล็ก, พื้นที่ของวงรอบ, และอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์, และสัดส่วนที่แปรผกผันกับคุณสมบัติความต้านทานของวัสดุ ตามกฎของเลนซ์ กระแสเอ็ดดี้จะสร้างสนามแม่เหล็กสนามหนึ่งที่ตรงข้ามกับสนามแม่เหล็กที่สร้างมันขึ้นมา กระแสเอ็ดดี้จึงกลับมาเป็นปฏิปักษ์กับแหล่งที่มาของสนามแม่เหล็กนั้น ยกตัวอย่างเช่นพื้นผิวที่เป็นสื่อกระแสไฟฟ้าที่อยู่บริเวณใกล้เคียงจะออกแรงลากแรงหนึ่งบนแม่เหล็กที่กำลังเคลื่อนที่เพื่อต่อต้านกับการเคลื่อนที่ของแม่เหล็ก แรงลากนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากกระแสเอ็ดดี้ที่ถูกเหนี่ยวนำในพื้นผิวโดยสนามแม่เหล็กที่กำลังเคลื่อนที่ ผลกระทบนี้จะถูกนำมาใช้ในตัวเบรกด้วยกระแสเอ็ดดี้ที่ถูกใช้ในการหยุดการหมุนของเครื่องมือไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็วเมื่อเครื่องมือนั้นถูกถูกปิดกระแสไฟฟ้า กระแสที่ไหลผ่านความต้านทานของตัวนำยังกระจายพลังงานความร้อนในวัสดุอีกด้วย ดังนั้นกระแสเอ็ดดี้จึงเป็นแหล่งที่มาของการสูญเสียพลังงานในตัวเหนี่ยวนำ, หม้อแปลง, มอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) และเครื่องจักรกล AC อื่น ๆ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องมีการสร้างพิเศษให้กับอุปกรณ์เหล่านั้น เช่นการเคลือบแกนแม่เหล็กเพื่อลดกระแสเอ็ดดี้ กระแสเอ็ดดี้ยังถูกใช้อีกด้วยในการให้ความร้อนวัตถุในเตาเผาและอุปกรณ์ที่สร้างความร้อนโดยการเหนี่ยวนำ และในการตรวจสอบรอยแตกและตำหนิในชิ้นส่วนโลหะโดยใช้'เครื่องมือทดสอบกระแสเอ็ดดี้'.

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและกระแสเอ็ดดี้ · ดูเพิ่มเติม »

สนามแม่เหล็ก

กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเส้นลวดทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก (M) รอบๆ บริเวณเส้นลวด ทิศทางของสนามแม่เล็กที่เกิดขึ้นนี้เป็นไปตามกฎมือขวา กฎมือขวา Hans Christian Ørsted, ''Der Geist in der Natur'', 1854 สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแหน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์ \mathbf \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่ \mathbf.

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและสนามแม่เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนาน

แผนภาพของปืนแม่เหล็กไฟฟ้า พื้นผิวของเรือรบถูกยิงทดสอบที่ศูนย์การทดสอบในเดือนมกราคม ปี ค.ศ. 2008; พวยไฟที่เกิดขึ้นเบื้องหลังกระสุนเกิดจากเปลวเพลิงและสิ่งที่ไม่ใช่พลาสม่า ซึ่งขัดกับความเชื่อแต่เดิมของทฤษฎีที่มีhttp://www.popsci.com/military-aviation-space/article/2008-02/navy-tests-32-megajoule-railgun ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนาน (Railgun) เป็นเครื่องยิงกระสุนพลังแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีการทำงานบนพื้นฐานของหลักการที่คล้ายกับมอเตอร์ขั้วเดี่ยว ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนานประกอบด้วยคู่ของรางขนานเป็นสื่อในการทำงาน, เป็นเครื่องยิงวัตถุ (ในที่นี้เปรียบได้กับตัวอาร์เมเจอร์ในมอเตอร์) ด้วยพลังแม่เหล็กไฟฟ้าโดยประกอบด้วยรางนำไฟฟ้าชนิดเดียวกัน 2 แท่งมาติดตั้งในรูปแบบขนานและมีวัตถุที่เคลื่อนและถูกเร่งโดยพลังแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากการปล่อยกระแสไฟฟ้าจากรางด้านหนึ่งผ่านวัตถุไปสู่รางอีกด้านหนึ่ง โดยจะเกิดการเหนี่ยวนำ ทำให้เกิดแรง และวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคงที่ค่าหนึ่ง โดยวัตถุนั้นสามารถบรรจุสิ่งที่ไม่จำเป็นต้องนำไฟฟ้าได้ ไม่ว่าจะเป็น สารกึ่งโลหะ, พลาสมา หรือของแข็งใดๆ และเมื่อยิ่งพ้นออกจากรางแล้ว วัตถุจะเคลื่อนที่อย่างอิสระโดยมีความเร็วต้นเท่ากับขณะที่หลุดพ้นออกจากช่วงรางเหนี่ยวนำนั้นเอง ตัวอาร์เมเจอร์อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของกระสุนปืน,.

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนาน · ดูเพิ่มเติม »

ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำ

แผนภาพแบบย่อของปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำ (coilgun) แบบหลายตอนที่มีสามขดลวดเหนี่ยวนำ, ลำกล้องปืนและกระสุนปืนที่ทำจากสารเฟอร์โรแม็คเนติค (ferromagnetic) ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำ (coilgun) (หรือ ปืนเกาส์ มีความเกี่ยวข้องกับ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์ ผู้ที่ได้คิดค้นกำหนดรายละเอียดทางคณิตศาสตร์ของผลลัพธ์เกี่ยวกับแม่เหล็กที่ใช้โดยเครื่องเร่งแม่เหล็ก) เป็นชนิดของเครื่องเร่งวัตถุที่ใช้เป็นลูกปืน (projectile) ที่ประกอบไปด้วยหนึ่งขดลวดตัวนำไฟฟ้าหรือมากกว่านั้นเพื่อใช้เป็นแหล่งกำเนิดพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าในการกำหนดค่าของมอเตอร์เชิงเส้นเพื่อที่จะช่วยในการเร่งความเร็วกระสุนปืนที่ทำจากสารเฟอร์โรแม็กเนติค (ferromagnetic) หรือเรียกว่าการเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า ให้เคลื่อนที่ออกไปจากปากกระบอกปืนด้วยความเร็วสูง ในเกือบทุกการกำหนดค่าของปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำนี้, ขดลวดและกระบอกปืนจะถูกจัดเรียงบนแกนร่วมอันเดียวกัน ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำ หรือ คอยล์กัน (Coilguns) โดยทั่วไปประกอบด้วยหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งขดลวดที่ถูกพันจัดเรียงไปตามแนวความยาวผิวนอกของตัวถังที่เป็นตัวกระบอกปืนดังนั้นเส้นทางของลูกกระสุนจึงถูกเร่งความเร็วให้อยู่ไปตามแกนกลางของขดลวด ขดลวดจะถูกเปิดและปิดสวิตช์ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปและหยุดไหลผ่านในลำดับเวลาอย่างแม่นยำ, ทำให้ลูกกระสุนจะถูกเร่งตัวได้อย่างรวดเร็วไปตามช่องในกระบอกปืนด้วยอำนาจจากแรงแม่เหล็ก คอยล์กัน แตกต่างจาก ปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบรางคู่ขนาน หรือ เรวกัน (Railguns) ตรงที่ทิศทางของการเร่งความเร็วในเรวกัน อยู่ที่มุมขวากับแกนกลางของลูปกระแส หรือ วงปิดของการไหลเวียนของกระแส ที่เกิดจากการนำกระแสของตัวราง.

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและปืนแม่เหล็กไฟฟ้าแบบขดลวดเหนี่ยวนำ · ดูเพิ่มเติม »

แม็กเลฟ

http://en.wikipedia.org/wiki/Transrapid Transrapid รถไฟพลังแม่เหล็ก รุ่นแรกของโลก โดยเยอรมนี http://en.wikipedia.org/wiki/JR-Maglev JR-Maglev รถไฟพลังแม่เหล็กเซี่ยงไฮ้ของจีน ที่พัฒนาโดยเยอรมัน ขณะจอดอยู่ที่ชานชาลา รถไฟแบบ Maglev หรือ (magnetically levitating (maglev)) เป็นระบบการขนส่งรูปแบบหนึ่งที่ใช้แรงยกตัวของแม่เหล็กไฟฟ้า ให้ตัวยานพาหนะลอยขึ้นเหนือรางวิ่งแทนการใช้ล้อ, เพลาหรือลูกปืนลดความเสียดทาน.

ใหม่!!: มอเตอร์แนวราบและแม็กเลฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มอเตอร์เชิงเส้น

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »