โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกิน

ดัชนี มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกิน

มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกิน (Anglia Ruskin University) เป็นมหาวิทยาลัยขนาดกลางตั้งที่เมืองเคมบริดจ์ เชล์มสฟอร์ด และปีเตอร์บะระ ถือกำเนิดจากวิทยาลัยศิลปะเคมบริดจ์ ซึ่งตั้งในปี..

7 ความสัมพันธ์: ฟรานซิส คริกมหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลียมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ราชอาณาจักรอีสต์แองเกลียจอห์น รัสคินเชล์มสฟอร์ดเคมบริดจ์

ฟรานซิส คริก

ฟรานซิส คริก ฟรานซิส คริก (Francis Harry Compton Crick OM FRS (8 มิถุนายน พ.ศ. 2459 – 28 กรกฎาคม 2547) นักอณูชีววิทยาชาวอังกฤษ นักฟิสิกส์และนักประสาทวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของ “กรดดีออกซีไรโบนิวคลิอิก” หรือ “ดีเอ็นเอ” เมื่อ พ.ศ. 2496 ฟรานซิส คริก กับ เจมส์ ดี. วัตสัน ผู้ร่วมค้นพบ ได้ร่วมรับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา หรือ การแพทย์ “สำหรับการค้นพบที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลิอิกและความสำคัญของมันในการถ่ายทอดข้อมูลสำคัญในสิ่งมีชีวิต” งานของฟรานซิส คริกในช่วงหลังจนถึงปี พ.ศ. 2520 ที่หอทดลองอณูชีววิทยา “เอ็มอาร์ซี” หรือ “สภาวิจัยทางการแพทย์” (MRC-Medical Research Council) ไม่ได้รับการยอมรับเป็นทางการมากนัก ในช่วงท้ายในชีวิตงาน คริกได้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เมธีวิจัย “เจ ดับบลิว คีกเคเฟอร์” ที่ “สถาบันซอล์คชีววิทยาศึกษา” ที่เมืองลาโฮลา รัฐแคลิฟอร์เนีย และได้ดำรงตำแหน่งนี้จนสิ้นชีวิตเมื่ออายุได้ 88 ปี.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและฟรานซิส คริก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย

มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย (University of East Anglia) ตั้งอยู่ที่เมือง นอริช สหราชอาณาจักร เริ่มก่อตั้งในปี..1963 ปัจจุบันเป็นสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำที่เน้นทางด้านการวิจัยโดยในปี 2013 มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพงานวิจัยอันดับที่ 90 ของโลกในปี 2013 มหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลียมีชื่อเสียงอย่างมากจากงานวิจัยที่มีผลกระทบกับสภาวะโลกร้อน มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่ม 1994 Group ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศ ในปัจจุบันมีนักศึกษากว่า 17000 คน ซึ่งเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีประมาณ 12000 คน และระดับสูงกว่าปริญญาโทกว่า 4000 คน โดยมีนักศึกษาชาวต่างชาติกว่า 2500 คนจากกว่า 100 ประเท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและมหาวิทยาลัยอีสต์แองเกลีย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอีสต์แองเกลีย

ราชอาณาจักรอีสต์แองเกลีย (ภาษาอังกฤษ: Kingdom of the East Angles หรือ Kingdom of East Anglia) เป็นหนึ่งในอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนเจ็ดอาณาจักร ชื่อของอาณาจักรมาจากชื่อดินแดนแองเกิล (Angeln) ของชนแองเกิล ทางตอนเหนือของเยอรมนี ที่เมื่อแรกเริ่มประกอบด้วยนอร์โฟล์ค และซัฟโฟล์ค ชื่อที่อาจจะได้รับหลังจากการตั้งถิ่นฐานของชาวเดนส์ (“North folk (people)”.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและราชอาณาจักรอีสต์แองเกลีย · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รัสคิน

“จอห์น รัสคิน” ค.ศ. 1894 โดยช่างภาพเฟรดเดอริค ฮอลล์เยอร์ (Frederick Hollyer) จอห์น รัสคิน (ภาษาอังกฤษ: John Ruskin) (8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1819 – 20 มกราคม ค.ศ. 1900) เป็นนักวิพากษ์ศิลป์ และนักคิดทางสังคมวิทยาชาวอังกฤษ นอกจากนั้นก็ยังเป็นนักประพันธ์, กวี และจิตรกร บทความเกี่ยวกับศิลปะและสถาปัตยกรรมเป็นข้อเขียนที่มีอิทธิพลต่อสมัยวิคตอเรียและสมัยเอ็ดเวิร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและจอห์น รัสคิน · ดูเพิ่มเติม »

เชล์มสฟอร์ด

ล์มสฟอร์ด (Chelmsford, ออกเสียง เชม-สเฟิร์ด) เป็นเมืองเอกของแคว้นเอสเซกซ์มีสถานะเสมอด้วยจังหวัด ไม่ใช่เทศมณฑลหรืออำเภออันเป็นส่วนย่อยของรัฐในสหรัฐอเมริกาและประเทศรัฐรวม ตั้งทางตะวันออกของอังกฤษ ห่างจากเมืองโคลเชสเตอร์ประมาณ ประชากรในเขตเมืองมีประมาณ 120,000 คน แต่ถ้านับทั้งเขตอำเภอจะมีทั้งสิ้น 168,310 คน ตัวเมืองเชล์มสฟอร์ดอยู่ในเขตปริมณฑลสำหรับผู้เดินทางจากกรุงลอนดอน โดยใช้เวลาประมาณ 35 นาที ก่อนหน้าปี..2555 เมืองเชล์มสฟอร์ดมีสถานะเป็นเทศบาลเมือง (town) ต่อมาถูกยกสถานะเป็นเทศบาลนครโดยความเห็นของคณะองคมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ชื่อเมืองเชล์มสฟอร์ดถูกนำไปตั้งเป็นชื่อชุมชนในรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา รัฐออนแทริโอ และรัฐนิวบรันสวิก แคน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและเชล์มสฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เคมบริดจ์

มบริดจ์ (Cambridge) เป็นเมืองมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ในอังกฤษ สหราชอาณาจักร และเป็นศูนย์กลางการปกครองของเคมบริดจ์เชียร์ เมืองอยู่ห่างจากลอนดอนไปทางเหนือ-ตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 80 กม. และห้อมล้อมไปด้วยเมืองและหมู่บ้านขนาดเล็กจำนวนหนึ่ง เมืองนี้ยังเป็นหัวใจของศูนย์เทคโนโลยีชั้นสูง ที่รู้จักกันในชื่อ ซิลิคอนเฟน (Silicon Fen) และเป็นส่วนสำคัญของเขตอุตสาหกรรมความรู้ ออกซ์ฟอร์ด-เคมบริดจ์อาร์ก (Oxford-Cambridge Arc) เมืองเคมบริดจ์เป็นที่รู้จักมากที่สุดจากการเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ จากการสำรวจสำมะโนประชากร เมื่อปี ค.ศ. 2001 มีประชากร 108,863 คน (รวมนักเรียน 22,153 คน).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยแองเกลียรัสกินและเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »