โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

ดัชนี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน (Mahamakut Buddhist University Isan Campus) เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533.

8 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2533มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยวิทยาเขตสีส้มอำเภอเมืองขอนแก่นจังหวัดขอนแก่นตำบลในเมืองต้นพระศรีมหาโพธิ์

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นสถาบันการศึกษาของสงฆ์ ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ของประเทศไทย ที่จัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกที่เริ่มประยุกต์หลักพระพุทธศาสนาให้เข้ากับสังคมสมัยใหม่ โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ หนึ่งในสองแห่งของประเทศไท.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาเขต

วิทยาเขต (campus) เป็นสถานที่ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยจัดตั้งขึ้นเพื่อจัดการศึกษา ซึ่งอาจจะประกอบด้วยห้องสมุด หอพัก อาคารต่าง ๆ ในรูปแบบเช่นเดียวกันกับมหาวิทยาลัย "วิทยาเขต" ถูกใช้เรียกครั้งแรกโดยวิทยาลัยนิวเจอร์ซีย์ (มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปัจจุบัน) ในช่วงทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 18 ต่อมามหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัยต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา จึงได้นำคำว่า วิทยาเขต มาเรียกชื่อสถานที่จัดการศึกษานอกที่ตั้งของมหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย โดยระบบการจัดการบริหารแบบวิทยาเขตอาจแบ่งเป็นสองแบบตามความหมายภาษาอังกฤษอันได่แก่ University System (วิทยาเขตแบ่งแยกออกจากกันเปรียบเสมือนคนละมหาวิทยาลัยและใช้ชุดบริหารและทรัพยากรแยกกันเพียงแต่ใช้ชื่อร่วมกันเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต บางเขน กำแพงแสน เป็นต้น) และ Multiple-Campus University (วิทยาเขตแบ่งแยกโดยสถานที่โดยยังอยู่ภายใต้การบริหารงานของ 1 มหาวิทยาลัย - สมาชิกในวิทยาเขตทุกวิทยาใช้ทรัพยากรร่วมกันกับส่วนกลางและมีการแบ่งปันกันภายในมหาวิทยาลัยและไม่แบ่งแยก เพียงแต่สถานที่ไม่ได้อยู่ด้วยกันเท่านั้น เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและวิทยาเขต · ดูเพิ่มเติม »

สีส้ม

ีส้ม เป็นหนึ่งในกลุ่มสีโทนร้อน แสงสีส้มที่มองเห็นได้มีความยาวคลื่นราว 590 นาโนเมตร สีเพลิง เป็น รูปลักษณ์ของสีออกคล้ายสีแสด ซึ่งมีความเข้มกว่าสีส้ม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองขอนแก่น

อำเภอเมืองขอนแก่น เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การคมนาคม การศึกษา การแพทย์ อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจของจังหวัดขอนแก่น เป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุดในจังหวั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและอำเภอเมืองขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดขอนแก่น

ังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจังหวัดศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เมืองขอนแก่นตั้งอยู่ในจุดที่ถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก) ตัดผ่าน ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญอีกเส้นหนึ่งในการเดินทางจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางเข้าไปสู่ภาคเหนือตอนล่างที่อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ และเดินทางเข้าสู่ประเทศลาวทางด้านทิศใต้ของลาว อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดมหาสารคามและจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ติดกับจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดชัยภูมิและจังหวัดเพชรบูรณ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและจังหวัดขอนแก่น · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลในเมือง

ตำบลในเมือง สามารถหมายถึงตำบลที่มีชื่อเดียวกันนี้ถึง 22 แห่งในอำเภอและจังหวัดต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและตำบลในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เหนือพระแท่นวัชรอาสนพุทธบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ต้นโพธิ์ที่สำคัญที่สุดของชาวพุทธ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นต้นโพที่พระโคตมพุทธเจ้าเคยประทับและตรัสรู้ ดังปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาว่าต้นโพธิ์เปรียบได้กับพุทธอุเทสิกเจดีย์อย่างหนึ่ง ทำให้พันธ์ุต้นโพกลายเป็นพันธ์ไม้ที่เป็นที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับแต่สมัยพุทธกาล ต้นโพธิ์ในพระพุทธประวัติสองต้นคือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ และต้นอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนต้นมาจนถึงปัจจุบัน โดยคำว่า "ต้นพระศรีมหาโพธิ์" นั้น อาจหมายถึงต้นที่อยู่ที่พุทธคยา ต้นโพธิ์ที่สืบมาจากหน่อโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา หรือต้นโพธิ์ที่เป็นอุเทสิกเจดีย์อื่น ๆ ก็ได้ เช่น ต้นโพตามวัดต่าง ๆ ในปัจจุบันต้นพระศรีโพธิ์สำคัญที่ยังคงยืนต้นอยู่ในปัจจุบันมี 3 ต้นด้วยกัน คือ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ที่พุทธคยา, ต้นพระชัยศรีมหาโพธิ์เมืองอนุราธปุระ, และต้นอานันทโพธิ์วัดพระเชตวันมหาวิหาร แต่ต้นโพธิ์พระเจ้าอโศกแห่งเมืองอนุราธปุระ ที่นำหน่อพันธ์มาจากพุทธคยา ได้รับการเคารพนับถือและปฏิบัติบูชาด้วยความเคารพอย่างสูงมาตลอดตั้งแต่สองพันปีโดยไม่ขาดช่วง มีการทำกำแพงทองคำและมีชาวพุทธผู้ศรัทธามาทำการสักการะตลอดเวลา ซึ่งต่างจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่พุทธคยาที่ถูกทำลายและล้มลงตามธรรมชาติหลายครั้ง และต้นอานันทโพธิ์ที่วัดเชตวันที่ขาดช่วงการดูแลจากชาวพุทธหลังจากพระพุทธศาสนาเสื่อมไปจากอินเดีย แม้ในประเทศไทย จะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับต้นพระศรีมหาโพธิ์เท่ากับชาวพุทธในศรีลังกา แต่ปรากฏตามความเชื่อในประเทศไทยว่า ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่พุทธคยา เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำปีเกิดสำหรับผู้ที่เกิดปีมะเส็ง สำหรับชาวล้านนายังมีความเชื่ออีกว่า ต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ และเครื่องประกอบพิธีกรรม ใต้ต้นโพธิ์ โดยผูกคติกับความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งไม่ใช่ความหมายเดิมของการบูชาต้นพระศรีมหาโพธิ์ตามคัมภีร์ในพระพุทธศาสนา อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้น เช่น ต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ (ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดี), วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร (ปลูกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นต้น แม้การทำลายต้นโพธิ์ตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาจะระบุว่าเป็นการทำบาปและหลบหลู่พระรัตนตรัย แต่ในมหาสมณวินิจฉัย ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กล่าวว่าเฉพาะต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่เป็นอุทเทสิกเจดีย์เท่านั้น ต้นโพที่งอกทั่วไปและไม่ได้เป็นอุเทสิกาเจดีย์ คือไม่มีผู้เคารพบูชาในฐานะตัวแทนของพระพุทธเจ้า (เช่นเดียวกับพระพุทธรูป).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสานและต้นพระศรีมหาโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »