โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ภาษากังเต

ดัชนี ภาษากังเต

ษากังเต (Gangte language) มีผู้พูดในอินเดีย 15,100 คน (พ.ศ. 2544) ในรัฐมณีปุระ รัฐเมฆาลัย รัฐอัสสัม มีผู้พูดในพม่าแต่ไม่ทราบจำนวน จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขากูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ใกล้เคียงกับภาษาฉิ่นสำเนียงทาโด แตกต่างจากภาษาไปเต และภาษาซัวเพียงเล็กน้อย ผู้พดภาษานี้จะพูดภาษามณีปุระและภาษาอังกฤษได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน มีวารสารและหนังสือพิมพ์ที่ตีพิมพ์ด้วยภาษากังเต.

10 ความสัมพันธ์: ภาษามณีปุระภาษาอังกฤษภาษาฉิ่นภาษาไปเตรัฐมณีปุระรัฐอัสสัมรัฐเมฆาลัยอักษรละตินตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าประเทศอินเดีย

ภาษามณีปุระ

ษามณีปุระ หรือ ภาษาไมไต เป็นภาษากลางในรัฐมณีปุระทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย และเป็นภาษาราชการของรัฐนี้ด้วย มีผู้พูดทั้งหมด 1,391,000 คน พบในอินเดีย 1,370,000 คน (พ.ศ. 2543) ในรัฐมณีปุระ รัฐอัสสัม รัฐนาคาแลนด์ รัฐตรีปุระ รัฐอุตตรประเทศ ผู้พูดภาษานี้จะพูดภาษาฮินดีได้ด้วย พบในบังกลาเทศ 15,000 คน (พ.ศ. 2546) จะพูดภาษาเบงกาลีหรือภาษาสิลเหติได้ด้วย พบในพม่า 6,000 คน (พ.ศ. 2474) จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต กลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ในรัฐมณีปุระ มีรายการวิทยุออกอากาศด้วยภาษานี้ เขียนด้วยอักษรเบงกาลีหรืออักษรมณีปุระ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เป็นภาษาที่มีการสอนถึงระดับปริญญาเอกในมหาวิทยาลัยแห่งอินเดีย และใช้เป็นภาษาในการสอนปริญญาตรีในรัฐมณีปุระ เป็นภาษาที่ต่างจากภาษามณีปุระพิษณุปุระที่เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน.

ใหม่!!: ภาษากังเตและภาษามณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: ภาษากังเตและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฉิ่น

ษาฉิ่นหรือกลุ่มภาษากูกิช หรือกลุ่มภาษากูกี-ฉิ่น (Kukish languages หรือ Kuki-Chin) เป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาทิเบต-พม่า ที่ใช้พูดทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พม่าตะวันตกและบังกลาเทศตะวันออก ผู้พูดภาษานี้ในภาษาอัสสัมเรียกว่าชาวกูกี และภาษาพม่าเรียกว่า ชาวฉิ่น และบางส่วนเรียกตนเองว่า ชาวนาคา ในขณะที่ ชาวไมโซ แยกเป็นอีกกลุ่มต่างหาก ภาษาของพวกเขาคือภาษาไมโซ มีการศึกษาถึงระดับมหาวิทยาลัยที่ มหาวิทยาลัยไมโซราม.

ใหม่!!: ภาษากังเตและภาษาฉิ่น · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาไปเต

ษาไปเต (Paite language) มีผู้พูดทั้งหมด 91,800 คน พบในอินเดีย 78,800 คน (พ.ศ. 2548) ในรัฐอัสสัม มณีปุระ ตรีปุระ ไมโซรัม พบในพม่า 13,000 คน (พ.ศ. 2550) ในเทือกเขาฉิ่น จัดอยู่ในตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษากลุ่มทิเบต-พม่า สาขา กูกี-ฉิ่น-นาคา สาขาย่อยกูกี-ฉิ่น ผู้พูดภาษานี้ในอินเดียจะพูดภาษาไมโซได้ด้วย เขียนด้วยอักษรละติน เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กร.

ใหม่!!: ภาษากังเตและภาษาไปเต · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมณีปุระ

รัฐมณีปุระ (ภาษาเบงกาลี: মণিপুর, ภาษามณีปุรี: mnipur) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย มีเขตติดต่อกับรัฐนาคาแลนด์ทางทิศเหนือ รัฐอัสสัมทางทิศตะวันตก รัฐมิโซรัมทางทิศใต้ และประเทศพม่าทางทิศตะวันออก เป็นรัฐในเขตชายแดนซึ่งถือเป็นเขตพิเศษ ชาวต่างชาติที่จะเข้าไปต้องได้รับอนุญาต เป็นจุดกำเนิดของกีฬาโปโลสมัยใหม.

ใหม่!!: ภาษากังเตและรัฐมณีปุระ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอัสสัม

รัฐอัสสัม (อัสสัม: অসম Ôxôm) เดิมภาษาไทยเรียก อาสาม เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย โดยมีเมืองหลวงคือ ทิสปุระ อยู่ในเขตเมืองคูวาหตี อยู่ทางตอนใต้ของหิมาลัยตะวันออก รัฐอัสสัมมีลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำพารัก และตำบลครรพี กับเขาจาชาร์เหนือ ปัจจุบันมีพื้นที่ 78,438 ตารางกิโลเมตร เกือบเท่ากับพื้นที่ของไอร์แลนด์ หรือออสเตรีย รัฐอัสสัมรายล้อมด้วยรัฐพี่น้องทั้งเจ็ด อันได้แก่ อรุณาจัลประเทศ, นาคาแลนด์, มณีปุระ, มิโซรัม, ตริปุระ และ เมฆาลัย รัฐเหล่านี้เชื่อมต่อกับส่วนอื่นๆ ของอินเดีย โดยผ่านพื้นที่แคบ ในเบงกอลตะวันตก ที่เรียกว่า "คอไก่" อัสสัมยังมีชายแดนร่วมประเทศภูฏาน และบังกลาเทศ มีวัฒนธรรม ประชากร และภูมิอากาศในลักษณะเดียวกันกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นส่วนสำคัญของนโยบายมองตะวันออก ของอินเดีย ชาอัสสัม รัฐอัสสัมมีชื่อเสียงด้านแหล่งใบชา ปิโตรเลียม ไหมอัสสัม และความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ยังประสบความสำเร็จในการอนุรักษ์แรดนอเดียว จากสภาพสูญพันธุ์ในอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา (Kaziranga National Park), เสือในอุทยานแห่งชาติมนัส (Manas National Park) และจัดหาแหล่งอาศัยสุดท้ายของสัตว์ป่าสำหรับช้างเอเชียด้วย อัสสัมเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในฐานะแห่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่า และทั้งกาจิรังคาและมนัส ก็เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อัสสัมยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะป่าต้นสาละ และผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนลดลงมาก อัสสัมเป็นพื้นที่ซึ่งมีฝนตกชุก จึงมีพืชพรรณที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำพรหมบุตร และลำน้ำสาขา กับทะเลสาบรูปเกือกม้า ที่ให้ความชุ่มชื้นและความสวยงามแก่ภูมิประเท.

ใหม่!!: ภาษากังเตและรัฐอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเมฆาลัย

รัฐเมฆาลัย (Meghalaya) คือหนึ่งในรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีเขตติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศใต้และตะวันตก และรัฐอัสสัมทางทิศเหนือและตะวันออก ในปัจจุบันหนึ่งในสามของรัฐยังคงปกคลุมไปด้วยป่าไม้ นอกจากนี้แล้ว รัฐเมฆาลัยยังถือเป็นสถานที่ ๆ ฝนตกชุกที่สุดในโลกและเป็นสถานที่ ๆ ชื้นแฉะที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: ภาษากังเตและรัฐเมฆาลัย · ดูเพิ่มเติม »

อักษรละติน

อักษรละติน หรือ อักษรโรมัน เป็นระบบตัวเขียนแบบตัวอักษร สันนิษฐานว่าอักษรละตินมีที่มาจากอักษรคิวมี (Cumae alphabet) ซึ่งดัดแปลงมาจากอักษรกรีกอีกทอดหนึ่ง ที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก โดยเฉพาะประเทศในยุโรปและอเมริกา และประเทศในเอเชียที่นำอักษรละตินมาใช้ในภายหลังเช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศตุรกี และประเทศฟิลิปปินส์ รวมถึงการเขียนภาษาด้วยอักษรโรมัน (romanization) ในภาษาต่างๆ เช่น พินอิน (ภาษาจีน) หรือ โรมะจิ (ภาษาญี่ปุ่น).

ใหม่!!: ภาษากังเตและอักษรละติน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: ภาษากังเตและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ภาษากังเตและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »