สารบัญ
20 ความสัมพันธ์: ฟิลิป โรลเลอร์ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46ฟุตบอลทีมชาติบูร์กินาฟาโซฟุตบอลทีมชาติไทยฟุตบอลทีมชาติเบลารุสฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือพ.ศ. 2560พีระพัฒน์ โน๊ตชัยยากรกฎาคมกรุงเทพมหานครการดวลลูกโทษ (ฟุตบอล)ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์มงคล ทศไกรราชมังคลากีฬาสถานสิโรจน์ ฉัตรทองธีรเทพ วิโนทัยประเทศไทยไทยรัฐทีวีUTC+07:00
- คิงส์คัพ
ฟิลิป โรลเลอร์
ฟิลิปเกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน..
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟิลิป โรลเลอร์
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 44 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 3 มิถุนายน และ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม จะแข่งขันกันที่กรุงเทพมหานคร ครั้งนี้ประกอบไปด้วยเจ้าภาพ ไทย และสามทีมรับเชิญ.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 46 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม จะแข่งขันกันที่กรุงเทพมหานคร ครั้งนี้ประกอบไปด้วยเจ้าภาพ ไทย และสามทีมรับเชิญ.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46
ฟุตบอลทีมชาติบูร์กินาฟาโซ
ฟุตบอลทีมชาติบูร์กินาฟาโซ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศบูร์กินาฟาโซ อยู่ภายใต้การควบคุมสหพันธ์ฟุตบอลบูร์กินาบี ก่อนหน้านั้นเคยรู้จักกันในชื่อ ฟุตบอลทีมชาติอัปเปอร์วอลตา และเปลี่ยนชื่อมาเป็นบูร์กินาฟาโซในปี..
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟุตบอลทีมชาติบูร์กินาฟาโซ
ฟุตบอลทีมชาติไทย
ฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ และอยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยทีมมีประวัติของความสำเร็จในการแข่งขันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือชนะเลิศอาเซียนฟุตบอลแชมเปียนชิพ 5 สมัย และชนะเลิศซีเกมส์ 10 สมัย โดยทีมชาติไทยยังสามารถคว้าอันดับ 3 ในเอเชียนคัพ 1972 และเข้าร่วมการแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2 ครั้ง และในเอเชียนเกมส์ 4 ครั้ง โดยอันดับโลกฟีฟ่าที่ทีมชาติไทยทำอันดับได้ดีที่สุด คือ อันดับที่ 42 ในเดือนกันยายน พ.ศ.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟุตบอลทีมชาติไทย
ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส
ฟุตบอลทีมชาติเบลารุส (Нацыянальная зборная Беларусі па футболе, Natsyyanalnaya zbornaya Bielarusi pa futbolie) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเบลารุส อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งเบลารุส ใช้บอรีซอฟอารีนาในเมืองบารีซอฟ เป็นสนามเหย้า เบลารุสไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ปัจจุบันมีผู้จัดการทีมคือ Igor Kriushenko ซึ่งคุมทีมมาตั้งแต่เดือนมีนาคม..
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟุตบอลทีมชาติเบลารุส
ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ
ฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศเกาหลีเหนือ และอยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลเกาหลีเหนือ ผลงานที่ดีที่สุดคือการเข้ารอบรองชนะเลิศของฟุตบอลโลก 1966 โดยชนะอิตาลีอย่างเหนือความคาดหมาย 1-0 กลายเป็นทีมจากเอเซียทีมแรกที่ผ่านถึงรอบก่อนรองชนะเลิศ ทีมในปัจจุบันประกอบด้วยทั้งชาวเกาหลีเหนือและชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่น (Zainichi Korean) เนื่องจากภาวะทางการเมืองในเกาหลีเหนือ มีเฉพาะชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่นที่สามารถค้าแข้งให้กับทีมนอกประเทศเกาหลีเหนือตามใจตัวเองได้ นอกจากนี้ แฟนของทีมชาติเกาหลีเหนือที่ตามไปเชียร์ถึงต่างประเทศก็เป็นชาวเกาหลีที่เกิดในญี่ปุ่นเช่นกัน เนื่องจากชาวเกาหลีเหนือโดยทั่วไป มักถูกห้ามออกนอกประเท.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฟุตบอลทีมชาติเกาหลีเหนือ
พ.ศ. 2560
ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และพ.ศ. 2560
พีระพัฒน์ โน๊ตชัยยา
ีระพัฒน์ โน้ตชัยยา เกิดวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 เป็นนักฟุตบอลชาวไทย ผู้ซึ่งทำหน้าที่ให้แก่สโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และพีระพัฒน์ โน๊ตชัยยา
กรกฎาคม
กรกฎาคม เป็นเดือนที่ 7 ของปี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นหนึ่งในเดือน 7 เดือนที่มี 31 วัน ตามหลักโหราศาสตร์ เดือนกรกฎาคมเริ่มต้นขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ยกเข้าสู่ราศีกรกฎ และสิ้นสุดเมื่อยกเข้าสู่ราศีสิงห์ แต่ในทางดาราศาสตร์ ต้นเดือนกรกฎาคมดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนคู่และปลายเดือนไปอยู่ในกลุ่มดาวปู เดิมเดือนนี้ใช้ชื่อว่า ควินตีลิส (Quintilis) ในภาษาละติน และเป็นเดือนที่ 5 ในปฏิทินโรมันดั้งเดิมที่เริ่มปีในเดือนมีนาคม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น "July" ตามชื่อของจูเลียส ซีซาร์ เพราะเป็นเดือนที่พระองค์เกิด และอ่านออกเสียงว่าจูลีจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และกรกฎาคม
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และกรุงเทพมหานคร
การดวลลูกโทษ (ฟุตบอล)
การดวลลูกโทษ (A penalty shoot-out) คือการยิงประตูจากจุดโทษ ในกติกาฟุตบอล เป็นวิธีการตัดสินวิธีสุดท้ายเพื่อให้ทีมใดทีมหนึ่งผ่านเข้าสู่รอบถัดไปในการแข่งขันฟุตบอล (หรือตัดสินผู้ชนะการแข่งขัน) ในเกมแพ้คัดออก หากมีการเสมอกันในช่วงต่อเวลาพิเศษ การดวลจุดโทษมีความแตกต่างจากการยิงลูกโทษซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเล่นในการแข่งขัน โดยการดวลลูกโทษจะเริ่มต้นโดยผู้ยิงฝ่ายละ 5 คน สลับกันยิงลูกโทษ โดยถ้าไม่สามารถตัดสินกันได้ให้มีการยิงต่อไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้ผู้ชนะ ในกลางปี..
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และการดวลลูกโทษ (ฟุตบอล)
ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์
ติพันธ์ พ่วงจันทร์ (เกิดเมื่อ 1 กันยายน พ.ศ. 2536) เป็นนักฟุตบอลตำแหน่งกองกลางสัญชาติไทย สโมสรปัจจุบันคือ บางกอกกล๊าส ยักษ์ใหญ่แห่งศึก ไทยลีก ลีกสูงสุดของประเทศไทย ปัจจุบันเป็นนักฟุตบอลทีมชาติไทย และยังเป็นบุตรชายของ ไพโรจน์ พ่วงจันทร์ คุณพ่ออดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทยอีกด้ว.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์
มงคล ทศไกร
มงคล ทศไกร นักฟุตบอลอาชีพชาวไทย ในตำแหน่งกองหน้าและปีกขวา ปัจจุบันสังกัดอาร์มี่ ยูไนเต็ด แต่ได้เล่นให้กับเชียงราย ยูไนเต็ด ในแบบยืมตัว และเล่นให้กับทีมชาติไท.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และมงคล ทศไกร
ราชมังคลากีฬาสถาน
อัฒจันทร์ฝั่งป้ายไฟแสดงคะแนน อัฒจันทร์ฝั่งกระถางคบเพลิง ศูนย์พักพิงผู้ประสบอุทกภัยชั่วคราว (ตุลาคม พ.ศ. 2554) ราชมังคลากีฬาสถาน (Rajamangala National Stadium) เป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย โดยเป็นสนามกลางหรือสนามหลัก (Main Stadium) ภายในสนามกีฬาหัวหมาก ของการกีฬาแห่งประเทศไทย สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 และ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก พ.ศ.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และราชมังคลากีฬาสถาน
สิโรจน์ ฉัตรทอง
รจน์ ฉัตรทอง (เกิด: 8 ธันวาคม พ.ศ. 2535 ที่จังหวัดสุรินทร์; ชื่อเล่น: ปีโป้) เป็นนักฟุตบอลชาวไทย เป็นคนไทยปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลประจวบในไทยลีก ในตำแหน่งกองหน้.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และสิโรจน์ ฉัตรทอง
ธีรเทพ วิโนทัย
ีรเทพ วิโนทัย หรือ ลีซอ (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528) นักฟุตบอลชาวไทย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลเพื่อนตำรวจ ใน ไทยลีกดิวิชัน 1 และได้รับเลือกเป็นผู้เล่นตัวจริงให้กับทีมชาติไทย ลีซอเริ่มโด่งดังและเป็นที่รู้จักจากการลงเล่นฟุตบอลทีมชาติไทยชุดแชมป์ซีเกมส์ ครั้งที่ 21, 23 และ 24 ส่วนซีเกมส์ครั้งที่ 22 เป็นเพียงแค่ตัวสำรอง ในซีเกมส์ครั้งที่ 23 สามารถทำแฮตทริกได้ในนัดชิงชนะเลิศที่พบกับเวียดนาม ช่วยให้ทีมชาติไทยคว้าเหรียญทองในการแข่งขันซีเกมส์ 8 สมัยซ้อน ยิงประตูให้กับทีมชาติไทยชุดอายุไม่เกิน 23 ปีในกีฬาซีเกมส์ได้รวมทั้งสิ้น 14 ประตู.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และธีรเทพ วิโนทัย
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และประเทศไทย
ไทยรัฐทีวี
ทยรัฐทีวี เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ความคมชัดสูง ผลิตโดย บริษัท ทริปเปิลวีบรอดคาสต์ จำกัด ในเครือหนังสือพิมพ์ไทยรั.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และไทยรัฐทีวี
UTC+07:00
UTC+7:00เป็นเขตเวลาใช้ใน:ประเทศไทย UTC +7 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีส้ม (มิถุนายน), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.
ดู ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45และUTC+07:00
ดูเพิ่มเติม
คิงส์คัพ
- ผู้เล่นในฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44
- ผู้เล่นในฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45
- ผู้เล่นในฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 31
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 34
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 35
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 36
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 37
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 38
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 39
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 40
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 41
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 42
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 43
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45
- ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46