โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฟิลลิดา ลอยด์

ดัชนี ฟิลลิดา ลอยด์

ฟิลลิดา ลอยด์, CBE (Phyllida Lloyd; เกิด 17 มิถุนายน 1957) เป็นผู้กำกับละครเธียเตอร์และภาพยนตร์ชาวอังกฤษ รู้จักกันดีในงานการละครเวที และในฐานะผู้กำกับภาพยนตร์ Mamma Mia! (2008) และ The Iron Lady (2011).

25 ความสัมพันธ์: บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษบรอดเวย์บริสตอลมหาวิทยาลัยบริสตอลมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมมัมมา มีอา! วิวาห์วุ่น ลุ้นหาพ่อมาร์กาเรต แทตเชอร์รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมรางวัลแบฟตารางวัลโทนีรางวัลเอ็มมีลาบอแอมลีดส์วิลเลียม เชกสเปียร์อิปสวิชดิอินดีเพ็นเดนต์ซัมเมอร์เซตแมนเชสเตอร์แม็คเบ็ธแอ็บบาเชลต์นัมเมอรีล สตรีปเดอะ แฮนด์เมดส์ เทลเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และบรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

บรอดเวย์

รอดเวย์ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และบรอดเวย์ · ดูเพิ่มเติม »

บริสตอล

ริสตอล เป็นเมืองที่อยู่ในทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ โดยมีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 433,100 คนกับประชากรในแถบชานเมืองอยู่ 1,070,000 คน เป็นเมืองที่ประชากรมากที่สุดในอันดับ 6 ของอังกฤษและอันดับ 8 ของสหราชอาณาจักร โดยเมืองบริสตอลเป็นหนึ่งในเมืองหลักของอังกฤษตะวันตกเฉียงใต้ ใน ค.ศ. 1155 เมืองบริสตอลได้รับพระบรมราชานุญาต และใน ค.ศ. 1373 ได้สถานะเป็นเทศมณฑล ชื่อของเมืองบริสตอลเป็นภาษาอังกฤษเก่า หมายถึง ที่ซึ่งมีตะพาน เมืองนี้เคยเป็นเมืองท่ามากว่า 800 ปีแต่ตอนนี้เรือมีขนาดใหญ่กว่าเมื่อก่อนจึงย้ายเมืองท่าไปที่เมืองแอวันมอทแทน บริสตอล ในอดีตเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทาส ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองเมืองนี้ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรง แต่ปัจจุปันได้มีโรงงานมากมายมาตั้งอยู่ที่เมืองนี้ และเครื่องบินโดยสารความเร็วเหนือเสียงคองคอร์ดก็ได้สร้างที่เมืองนี้.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบริสตอล

มหาวิทยาลัยบริสตอล (University of Bristol) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งในใจกลางเมือง (และเคาน์ตี) บริสตอล สหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงด้านแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ และมีนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลหลายท่าน อาทิ พอล ดิแรก ฮันส์ เบเทอ ฯลฯ มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red brick university) ร่วมกับมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งในยุคเดียวกัน และเป็นสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยในสหราชอาณาจักร ยิ่งไปกว่านั้น มหาวิทยาลัยได้เป็นสมาชิกกลุ่มโคอิมบรา ซึ่งเป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาโบราณในยุโรปอีกด้วย มหาวิทยาลัยบริสตอลมีประวัติการก่อตั้งยาวนาน และมีชื่อเสียงทางวิชาการอย่างยิ่ง ซึ่งจะเห็นได้จากจำนวนสมาชิกราชบัณฑิตยสถานด้านแพทยศาสตร์ 21 คน ภาคีสมาชิกราชบัณฑิตยสถานอังกฤษ 13 คน สมาชิกราชวิทยสมาคม ถึง 40 คน อย่างไรก็ตาม มหาวิทยาลัยมีจำนวนนักศึกษาน้อยกว่ามหาวิทยาลัยเวสต์ออฟอิงแลนด์ซึ่งเป็นสถาบันข้างเคียง.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และมหาวิทยาลัยบริสตอล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม

มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่ ตั้งที่เมืองเบอร์มิงแฮม อันมีสถานะเป็นอำเภอในจังหวัดเวสต์มิดแลนด์ มหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮมเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยอิฐแดง (Red Brick Universities) และเป็นมหาวิทยาลัยอิฐแดงแห่งแรก ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และมหาวิทยาลัยเบอร์มิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

มัมมา มีอา! วิวาห์วุ่น ลุ้นหาพ่อ

มัมมา มีอา! วิวาห์วุ่น ลุ้นหาพ่อ (Mamma Mia!) ออกฉายเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เป็นภาพยนตร์ที่สร้างจากละครเพลงในชื่อเดียวกัน ที่แสดงในย่านเวสต์เอนด์ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เมื่อ..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และมัมมา มีอา! วิวาห์วุ่น ลุ้นหาพ่อ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเรต แทตเชอร์

มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ. 24688 เมษายน พ.ศ. 2556) นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2533 และเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึงปี พ.ศ. 2533 โดยเป็นผู้หญิงคนแรก ที่ดำรงทั้งสองตำแหน่งพร้อมกันในประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร บารอนเนสแทตเชอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรเป็นเวลายาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดซอลส์เบอรี และอยู่ในตำแหน่งติดต่อกันยาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดลิเวอร์พูล นายกรัฐมนตรีในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นสตรีคนแรกที่นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากของสหราชอาณาจักร และเป็นสตรีคนแรกของเพียงสามคนที่ได้ดำรงหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญของประเทศ หลังจากการเกษียณตัวเองจากการเมืองในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และมาร์กาเรต แทตเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับนักแสดงหญิงผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในอดีตจนถึงงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 49 (ปีค.ศ. 1977) รางวัลนี้ใช้ชื่อว่า รางวัลออสการ์ สาขาการแสดงโดยนักแสดงหญิง (Academy Award of Merit for Performance by an Actress) หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (Academy Award for Best Actress) เหล่านักแสดงหญิงจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นนักแสดงด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกจากสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลแบฟตา

รางวัลแบฟตา รางวัลสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์บริติช (British Academy of Film and Television Arts) หรือ แบฟตา (BAFTA) เป็นรางวัลการแจกรางวัลประจำปีของสหราชอาณาจักร ที่มอบรางวัลให้กับภาพยนตร์ โทรทัศน์ รายการสำหรับเด็ก และสื่อเชิงโต้ตอบ การแจกรางวัลเริ่มมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1947 ในฐานะเดอะบริติชฟิล์มอะแคเดมี โดย เดวิด ลีน, อเล็กซานเดอร์ คอร์ดา, คาโรล รีด, ชาลส์ ลอตัน, โรเจอร์ แมนเวลล์ และคนอื่น ๆ ต่อมาในปี ค.ศ. 1958 สถาบันได้รวมกับ The Guild of Television Producers and Directors และก่อตั้งเป็น The Society of Film and Television ซึ่งต่อมาก็ได้เปลี่ยนมาเป็น The British Academy of Film and Television Arts (BAFTA) ในปี 1976 สัญลักษณ์รางวัลที่มองเป็นรูปหน้ากากออกแบบโดย Mitzi Cunliffe ประติมากรชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และรางวัลแบฟตา · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทนี

รางวัลโทนี (Tony Awards หรือชื่อเต็มว่า The Antoinette Perry Awards for Excellence in Theatre) เป็นการมอบรางวัลให้กับศิลปะการแสดงละครเวที ละครบรอดเวย์ของชาวอเมริกัน จัดขึ้นโดย American Theatre Wing และ The Broadway League จัดขึ้นประจำปีในนิวยอร์กซิตี รางวัลมอบให้กับการสร้างสรรค์การทำงาน การแสดงของละครเวที ละครบรอดเวย์ และมอบให้โรงละครอเมริกัน รางวัลพิเศษที่มอบให้เช่น Special Tony Award และ the Tony Honors for Excellence in Theatre ก็มีการมอบรางวัล รางวัลนี้ตั้งชื่อตาม Antoinette Perry ผู้ร่วมก่อตั้ง American Theatre Wing รางวัลโทนีถือเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดของการแสดงละครเวที ในสหรัฐอเมริกา เปรียบเสมือนรางวัลออสการ์ของทางฝั่งละครเวที ตั้งแต่ปี 1997 พิธีมอบรางวัลจัดขึ้นที่เรดิโอมิวสิกฮอล ในนิวยอร์กซิตี ช่วงเดือนมิถุนายน ถ่ายทอดสดผ่านสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และรางวัลโทนี · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลเอ็มมี

รางวัลเอ็มมี เป็นรางวัลทางโทรทัศน์ที่พิจารณาผู้ทำงานด้านโทรทัศน์ เทียบเท่าได้กับรางวัลออสการ์ของทางฝั่งภาพยนตร์ โดยนำเสนอหลายส่วนในอุตสาหกรรมทางโทรทัศน์อย่างเช่น รายการบันเทิง ข่าว สารคดี รายการกีฬา รางวัลจัดขึ้นประจำทุกปี โดยจะการแจกรางวัลในสาขาเฉพาะอย่างเช่น ไพรม์ไทม์ เอ็มมี อวอร์ดส ให้กับรายการอเมริกันที่ดีที่สุดในช่วงไพร์มไทม์ (ไม่รวมกีฬา) และ เดย์ไทม์ เอ็มมี อวอร์ดส ให้กับรายการอเมริกันที่ดีที่สุดในช่วงกลางวัน หมวดหมู่:รางวัลโทรทัศน์.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และรางวัลเอ็มมี · ดูเพิ่มเติม »

ลาบอแอม

มีมี ลาบอแอม (La bohème) เป็นอุปรากรภาษาอิตาลีจำนวน 4 องก์ เขียนโดยจาโกโม ปุชชีนี คำร้องโดยลุยจี อิลลีกา (1857 – 1919) ดัดแปลงจากเรื่อง Scènes de la vie de bohème ของอ็องรี มูร์แฌร์ นักเขียนชาวฝรั่งเศส จัดแสดงรอบปฐมทัศน์เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1896 ที่โรงอุปรากร Teatro Regio เมืองตูริน อำนวยเพลงโดยอาร์ตูโร ตอสกานีนี จนถึงปัจจุบัน เรื่องลาบอแอมเป็นอุปรากรที่นิยมจัดแสดงบ่อยครั้งที่สุดเป็นอันดับสอง รองจากเรื่องมาดามบัตเตอร์ฟลาย เนื้อเรื่องกล่าวถึงความรักแรกพบระหว่างหญิงสาวชื่อ มีมี กับหนุ่มนักกลอนชื่อ โรฟอลโด ต่อมาโรฟอลโดพยายามจะตีจากมีมี เพราะไม่พอใจที่เธอแสดงพฤติกรรมหว่านเสน่ห์ไปทั่ว มีมีหัวใจสลายและสุขภาพเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ทั้งคู่ต่างเพิ่งตระหนักในรักและกลับมามีความสุขร่วมกันในช่วงสั้น ๆ ก่อนเธอจะเสียชีวิต ในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และลาบอแอม · ดูเพิ่มเติม »

ลีดส์

ลีดส์ (Leeds) เป็นเมืองในเวสต์ยอร์กเชียร์เคาน์ตีของอังกฤษ ลีดส์เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักรที่เป็นศูนย์กลางการค้า กฎหมาย และการให้บริการด้านการเงิน นอกเหนือจากลอนดอน ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำแอร.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และลีดส์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม เชกสเปียร์

วิลเลียม เชกสเปียร์ (William Shakespeare; รับศีล 26 เมษายน ค.ศ. 1564 - 23 เมษายน ค.ศ. 1616) เป็นกวีและนักเขียนบทละครชาวอังกฤษ ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ของอังกฤษและของโลก มักเรียกขานกันว่าเขาเป็นกวีแห่งชาติของอังกฤษ และ "Bard of Avon" (กวีแห่งเอวอน) งานเขียนของเขาที่ยังหลงเหลืออยู่ถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยบทละคร 38 เรื่อง กวีนิพนธ์แบบซอนเน็ต 154 เรื่อง กวีนิพนธ์อย่างยาว 2 เรื่อง และบทกวีแบบอื่นๆ อีกหลายชุด บทละครของเขาได้รับการแปลออกไปเป็นภาษาต่างๆ มากมาย และเป็นที่นิยมนำมาแสดงมากที่สุดในบรรดาบทละครทั้งหมด เชกสเปียร์เกิดและเติบโตที่เมืองสแตรทฟอร์ด ริมแม่น้ำเอวอน เมื่ออายุ 18 ปี เขาสมรสกับแอนน์ ฮาธาเวย์ มีบุตรด้วยกัน 3 คนคือ ซูซานนา และฝาแฝด แฮมเน็ตกับจูดิธ ระหว่างช่วงปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และวิลเลียม เชกสเปียร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิปสวิช

อิปสวิช (Ipswich) เป็นเมืองมณฑลของซัฟฟอล์ก ในสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ตอนในสุดของชะวากทะเลออร์เวลล์ เป็นเมืองที่มีการผลิตเครื่องจักรการเกษตร เป็นเมืองท่าและศูนย์กลางการขนส่งทางเรือ อิปสวิชเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในอังกฤษ เริ่มเป็นเมืองในยุคแองโกล-แซ็กซอน (ในศตวรรษที่ 7-8) บริเวณท่าเรืออิปสวิช และสถาปนาเป็นเมืองในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และอิปสวิช · ดูเพิ่มเติม »

ดิอินดีเพ็นเดนต์

อินดีเพ็นเดนต์ (The Independent) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษที่ตีพิมพ์ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ ค.ศ. 1986 โดยIndependent News & Media ฉบับวันราชการเรียกกันสั้นๆ ว่า “อินดี้” และฉบับวันอาทิตย์เรียกกันสั้นๆ ว่า “ซันดี้” “ดิอินดีเพ็นเดนต์” เป็นหนังสือพิมพ์ฉบับล่าที่สุดฉบับหนึ่งในสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และดิอินดีเพ็นเดนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัมเมอร์เซต

ซัมเมอร์เซต (ภาษาอังกฤษ: Somerset) เป็นมณฑลในอังกฤษในสหราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหราชอาณาจักร มณฑลภูมิศาสตร์ซัมเมอร์เซตมีเขตแดนติดกับบริสตอล และมณฑลกลอสเตอร์เชอร์ทางเหนือ, มณฑลวิลท์เชอร์ ทางตะวันออก, มณฑลดอร์เซตทางตะวันออกเฉียงใต้, และมณฑลเดวอนทางตะวันตกเฉียงใต้ ด้านเหนือและตะวันตกบางส่วนติดกับฝั่งทะเลของช่องแคบบริสตอลและปากน้ำ (estuary) ของแม่น้ำเซเวิร์น ตามธรรมเนียมทางเหนือของมณฑลเป็นแม่น้ำเอวอนแต่เขตการปกครองเลื่อนไปทางใต้เมื่อนครบริสตอลและอดีตมณฑลเอวอนและต่อมารัฐบาลท้องถิ่นระดับเดียวขยายเขตการปกครองทางเหนือของมณฑล ซัมเมอร์เซตเป็นมณฑลชนบทที่มีภูมิประเทศเป็นเนินสูงๆ ต่ำๆ เช่นเม็นดิพฮิลล์ส, ควานต็อคฮิลล์ส และอุทยานแห่งชาติเอ็กซ์มัวร์ และดินแดนที่กว้างไกลที่รวมทั้งซัมเมอร์เซตเลเวลส์ ซัมเมอร์เซตมีหลักฐานว่ามีผู้มาตั้งถิ่นฐานตั้งแต่ยุคหินใหม่และต่อมาในสมัยโรมัน และแซ็กซอน ต่อมาซัมเมอร์เซตก็มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ที่รวมทั้งการรวบรวมอำนาจของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช, สงครามกลางเมืองอังกฤษ และการปฏิวัติมอนม็อธ (Monmouth Rebellion) การเกษตรกรรมเป็นธุรกิจหลักของมณฑลที่รวมทั้งการเลี้ยงแกะและวัว ที่ใช้ในการทำขนแกะและเนยแข็ง นอกจากนั้นก็มีการตัดวิลโลว์สำหรับสานตะกร้า การทำสวนแอปเปิลครั้งหนึ่งเคยทำกันเป็นอุตสาหกรรมแต่ในปัจจุบันซัมเมอร์เซตก็ยังมีชื่อเสียงในการทำไซเดอร์ (cider) สถิติผู้ว่างงานโดยถัวเฉลี่ยน้อยกว่าระดับชาติ การรับจ้างที่สูงที่สุดอยู่ในการค้าขาย, การผลิต, การท่องเที่ยว, และการสุขภาพและการสังคมสงเคราะห์ การขยายตัวของจำนวนประชากรโดยถัวเฉลี่ยสูงกว่าระดับชาติ ซัมเมอร์เซตแบ่งการปกครองเป็นเจ็ดแขวง: เซาท์ซัมเมอร์เซต, ทอนทันดีน, เวสต์ซัมเมอร์เซต, เซจมัวร์, เม็นดิพ, บาธและนอร์ธอีสต์ซัมเมอร์เซต, นอร์ธซัมเมอร์เซต โดยมีทอนทันเป็นเมืองหลวงของมณฑล ซัมเมอร์เซตมีประชาชนรวมทั้งสิ้นประมาณ 905,700 คน ในเนื้อที่ 4,171 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และซัมเมอร์เซต · ดูเพิ่มเติม »

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แม็คเบ็ธ

แม็คเบ็ธ ''Macbeth'' แม็คเบ็ธ…ผู้ทรยศ (The Tragedy of Macbeth) เป็นโศกนาฏกรรมยอดเยี่ยมซึ่งเป็นที่รู้จักดีอีกเรื่องหนึ่งของ วิลเลียม เชกสเปียร์ เป็นเรื่องราว ความทะเยอทะยานอันไม่มีที่สิ้นสุดและนำพาชีวิตไปสู่ความหายนะ โดยนำเรื่องราวมาจากพระประวัติของ พระเจ้าแม็คเบ็ธแห่งสกอตแลน.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และแม็คเบ็ธ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็บบา

แอ็บบา (ABBA) (หรือชื่อเป็นทางการ ᗅᗺᗷᗅ) เป็นวงดนตรีป็อปสัญชาติสวีเดน ก่อตั้งขึ้น ณ กรุงสตอกโฮล์มในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และแอ็บบา · ดูเพิ่มเติม »

เชลต์นัม

ลต์นัม (Cheltenham) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ เชลต์นัมสปา (Cheltenham Spa) เป็นเมืองสปาในกลอสเตอร์เชียร์เคาน์ตี ทางตะวันตก-ใต้ของอังกฤษ บนฝั่งแม่น้ำเชลต์ มีอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและพุน้ำแร่ เมืองเป็นสถานที่จัดงานเทศกาลทางวัฒนธรรมหลายเทศกาล เมืองมีศูนย์การค้าท้องถิ่น หลายแห่ง รวมถึงคาเวนดิชเฮาส์ ห้างสรรพสินค้าที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองที่สร้างใน..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และเชลต์นัม · ดูเพิ่มเติม »

เมอรีล สตรีป

แมรี หลุยส์ "เมอรีล" สตรีป (เกิด 22 มิถุนายน, ค.ศ. 1949) เป็นนักแสดงชาวอเมริกันผู้ประสบความสำเร็จอย่างงดงามบนเวทีออสการ์ เมอรีลมีผลงานทั้งในละครเวที โทรทัศน์ และภาพยนตร์ เธอมีชื่อเสียงจากเรื่อง The Playboy of Seville ในปี..

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และเมอรีล สตรีป · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ แฮนด์เมดส์ เทล

เดอะ แฮนด์เมดส์ เทล เป็นภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์ของประเทศสหรัฐอเมริกา สร้างสรรค์โดย Bruce Miller ดัดแปลงจากนวนิยายปี 1985 เรื่อง The Handmaid's Tale เขียนโดย Margaret Atwood นักเขียนชาวแคนาดา ออกฉายทางบริการสตรีมมิง Hulu ซีซั่นแรกมีทั้งหมด 10 ตอน สามตอนแรกออกฉายเมื่อ 26 เมษายน 2017 ส่วนอีกเจ็ดตอนทยอยออกฉายรายสัปดาห์ ได้รับการอนุมัติให้ผลิตต่อเป็นซีซั่นที่ 2 โดยมีกำหนดออกฉายปี 2018 ซีรีส์นี้ได้รับคำวิจารณ์ในทางบวกอย่างล้นหลาม ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัล Primetime Emmy 13 รายการ และคว้ารางวัลมาได้ 8 รายการ รวมถึงซีรีส์ดราม่ายอดเยี่ยมด้วย ถือเป็นซีรีส์ที่ออกฉายทางบริการสตรีมมิงเรื่องแรกที่ได้รับรางวัลเอมมีสาขาซีรีส์ยอดเยี่ยม หมวดหมู่:ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และเดอะ แฮนด์เมดส์ เทล · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันวิเศษยิ่งแห่งจักรวรรดิบริติช (Most Excellent Order of the British Empire) คือเครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวินของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญบริติช ผู้สมควรได้รับต้องมีส่วนร่วมกับศิลปะและวิทยาศาสตร์ ทำงานร่วมกับองค์กรการกุศลและสวัสดิการ หรือการบริการสาธารณะนอกราชการ สถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1917 มีห้าชั้นได้แก่ จีบีอี เคบีอีหรือดีบีอี ซีบีอี โอบีอี และเอ็มบีอี ตามลำดับ ในฝ่ายพลเรือนและทหารที่อาวุโสจะได้รับพระราชทาน ไม่ว่าจะเป็นสุภาพบุรุษจะได้บรรดาศักดิ์เป็นอัศวิน ส่วนสุภาพสตรีที่ได้รับพระราชทานจะสามารถใช้คำนำหน้านามว่าเดมได้.

ใหม่!!: ฟิลลิดา ลอยด์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Phyllida Lloyd

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »