โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร

ดัชนี พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร

ัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นพิพิธภัณฑ์ด้านผ้าไทย ตั้งอยู่บริเวณอาคารอเนกประสงค์ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

14 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2542พ.ศ. 2543พ.ศ. 2552การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยมหาวิทยาลัยนเรศวรรายการรหัสไปรษณีย์ไทยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสีทองสถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวรอำเภอเมืองพิษณุโลกจังหวัดพิษณุโลกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1171 ธันวาคม9 กรกฎาคม

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2543

ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2543 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (Tourism Authority of Thailand, ชื่อย่อ: ททท., TAT) เป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา มีภารกิจในการส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไท.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สีทอง

สีทอง เป็นสีเหลืองแกมส้ม และเป็นสีของทองคำในธรรมชาติ ทอง.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและสีทอง · ดูเพิ่มเติม »

สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร

นอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดตั้งขึ้นเพื่อสืบค้น รวบรวม วิจัย พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ รวมทั้งการประสานงานเครือข่ายวิชาการ การประชุมวิชาการ และการจัดนิทรรศการ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตคนในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง-สาละวิน โดยรวมศูนย์ศิลปวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ผ้าของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นหน่วยงานเดียวกันเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 2 ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ดำเนินงาน 2 ส่วน คือมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนหนองอ้อ และมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนสนามบิน (หรือในปัจจุบันคือโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร).

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและสถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองพิษณุโลก

ระพุทธชินราช อำเภอเมืองพิษณุโลก เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและอำเภอเมืองพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 สายนครสวรรค์ – บ้านม่วงเจ็ดต้น (รวมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1325, 1104 และ 1047 สายคลองเมม – ม่วงเจ็ดต้น) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายหลักที่เชื่อมการขนส่งจราจรระหว่างจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดพิษณุโลก และเป็นทางหลวงสายรองในช่วงจังหวัดพิษณุโลกถึงจังหวัดอุตรดิตถ์ รวมระยะทางตลอดทั้งสาย 396.784 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117 · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พิพิธภัณฑ์ผ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรและ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พิพิธภัณฑ์ผ้า

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »