โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พิทยา บุณยรัตพันธุ์

ดัชนี พิทยา บุณยรัตพันธุ์

ทยา บุณยรัตพันธุ์ นักร้องหญิงที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในอดีต เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2476 ที่จังหวัดธนบุรี จบการศึกษาในระดับมัธยมบริบูรณ์ ที่โรงเรียนสตรีวัดระฆัง เริ่มร้องเพลงครั้งแรกกับวงดนตรีสุนทราภรณ์ เมื่อ..

10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2476พ.ศ. 2553วงดนตรีสุนทราภรณ์สุรพล โทณะวณิกสุรัฐ พุกกะเวสโรงเรียนสตรีวัดระฆังเวส สุนทรจามรเอื้อ สุนทรสนาน14 เมษายน25 กรกฎาคม

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรีสุนทราภรณ์

ตราสัญลักประจำวงดนตรีสุนทราภรณ์ วงดนตรีสุนทราภรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 โดยมีศิลปินยุคต้นๆ ดังนี้คือ เอื้อ สุนทรสนาน, มัณฑนา โมรากุล, เลิศ ประสมทรัพย์, สุภาพ รัศมิทัต, สุปาณี พุกสมบุญ, จันทนา โอบายวาทย์, จุรี โอศิริ, วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี, ชวลี ช่วงวิทย์, พูลศรี เจริญพงษ์, วรนุช อารีย์, ศรีสุดา รัชตะวรรณ, สมศักดิ์ เทพานนท์, รวงทอง ทองลั่นธม, หม่อมราชวงศ์ถนัดศรี สวัสดิวัตน์, อ้อย อัจฉรา, มาริษา อมาตยกุล, บุษยา รังสี เป็นต้น การรวมกลุ่มของนักดนตรีวงสุนทราภรณ์ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479 โดยเอื้อ สุนทรสนานกับเพื่อนๆ ร่วมกันตั้งวงดนตรีไทยฟิล์ม ของบริษัท ภาพยนตร์ไทยฟิล์ม จำกัด โดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล เมื่อบริษัทเลิกกิจการในปี..

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และวงดนตรีสุนทราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล โทณะวณิก

รพล โทณะวณิก (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2474 -) นักแต่งเพลงไทย นักเขียน นักข่าว นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และสุรพล โทณะวณิก · ดูเพิ่มเติม »

สุรัฐ พุกกะเวส

รัฐ พุกกะเวส หรือ สุรัสน์ พุกกะเวส (11 กันยายน พ.ศ. 2467 - (18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536) เป็นนักประพันธ์คำร้องเพลงไทยที่มีชื่อเสียง มีผลงานเพลงมากมาย เช่น เพลงบุพเพสันนิวาส, อุษาสวาท, ปทุมไฉไล, และที่สำคัญคือ เพลงสดุดีมหาราชา สุรัฐ พุกกะเวส มีนามเดิมว่า "สุรัสน์" เกิดเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2467 ที่จังหวัดสมุทรปราการ เป็นบุตรคนโต ของนายประสงค์ และ นางสาลี่ พุกกะเวส เป็นหลานปู่ของ พระวิภาชน์วิทยาสิทธิ์ (สังข์ พุกกะเวส)ผู้ขอพระราชทานนามสกุล "พุกกะเวส" จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สุรัฐ พุกกะเวส มีน้อง ดังรายนาม ดังนี้.

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และสุรัฐ พุกกะเวส · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวัดระฆัง

รงเรียนสตรีวัดระฆัง (ชื่อภาษาอังกฤษ: Satri Wat Rakhang School) เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 248/9 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และโรงเรียนสตรีวัดระฆัง · ดูเพิ่มเติม »

เวส สุนทรจามร

วส สุนทรจามร หรือ ครูเวส นักประพันธ์เพลงที่มีผลงานแต่งทำนองให้กับวงสุนทราภรณ์ ร่วมกับครูแก้ว อัจฉริยะกุล ครูสุรัฐ พุกกะเวส เป็นจำนวนมาก เป็นครูเพลงที่มีลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงในวงการหลายคน เช่น วินัย จุลละบุษปะ, เพ็ญศรี พุ่มชูศรี และ ธนิต ผลประเสริฐ เป็นต้น.

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และเวส สุนทรจามร · ดูเพิ่มเติม »

เอื้อ สุนทรสนาน

อื้อ สุนทรสนาน หรือเรียกกันว่า "ครูเอื้อ" (21 มกราคม พ.ศ. 2453 - 1 เมษายน พ.ศ. 2524) เป็นทั้งนักร้อง นักประพันธ์เพลงและหัวหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์ นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกวงการเพลงไทยสากล โดยริเริ่มก่อตั้ง สมาคมดนตรีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ทั้งมีผลงานมากมายจนนับไม่ถ้วนเป็นที่คุ้นเคยของผู้ฟังมากว่าครึ่งศตวรรษ เช่น เพลงเทศกาล/ประจำจังหวัด/สถาบันการศึกษา/สดุดี/ปลุกใจ ซึ่งคาดว่ามีมากกว่า 2,000 เพลง เช่น รำวงลอยกระทง,รำวงเริงสงกรานต์,นางฟ้าจำแลง ฯลฯ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ในปี..

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และเอื้อ สุนทรสนาน · ดูเพิ่มเติม »

14 เมษายน

วันที่ 14 เมษายน เป็นวันที่ 104 ของปี (วันที่ 105 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 261 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และ14 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

25 กรกฎาคม

วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พิทยา บุณยรัตพันธุ์และ25 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »