โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เจ้าแก้วนวรัฐ

ดัชนี เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

58 ความสัมพันธ์: บ่อน้ำมันฝางพ.ศ. 2420พ.ศ. 2429พ.ศ. 2433พ.ศ. 2445พ.ศ. 2453พ.ศ. 2464พ.ศ. 2476พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทรพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)พระยาคำฟั่นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระเจ้าอินทวิชยานนท์กู่เจ้านายฝ่ายเหนือมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชราชวงศ์ทิพย์จักรรายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่สะพานนวรัฐหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่หม่อมศรีนวล ณ เชียงใหม่ธเนศวร์ เจริญเมืองครูบาศรีวิชัยต้นไม้เงินต้นไม้ทองนครเชียงใหม่โกศโรงพยาบาลแมคคอร์มิคไทใหญ่เชียงแสนเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญจักรพรรดิมาลาเจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้วเจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูนเจ้าพงษ์กาวิล ณ เชียงใหม่เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุลเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนีเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์...เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)เจ้าจามรีวงศ์เจ้าดารารัศมี พระราชชายาเจ้าแก้วนวรัฐเจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่เครื่องราชบรรณาการ3 มิถุนายน ขยายดัชนี (8 มากกว่า) »

บ่อน้ำมันฝาง

อน้ำมันฝาง หรือ ศูนย์พัฒนาปิโตรเลียมภาคเหนือ เป็นแหล่งน้ำมันดิบบนบกแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ตำบลแม่สูน อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการโดยกรมการพลังงานทหาร.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและบ่อน้ำมันฝาง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2420

ทธศักราช 2420 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1877.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2420 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2429

ทธศักราช 2429 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1886 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2429 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2453

ทธศักราช 2453 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1910 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2453 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (20 กันยายน พ.ศ. 2468 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ (ภายหลังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาลย์ (ภายหลังดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี) มีพระเชษฐภคินีและพระอนุชาร่วมพระชนกชนนีอีก 2 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (ภายหลังทรงขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) พระองค์เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร · ดูเพิ่มเติม »

พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง)

ระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) เป็นเจ้าราชโอรสในพระยาคำฟั่น เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 3 และเป็นพระราชบิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาคำฟั่น

ระยาคำฟั่น หรือ พระญาคำฝั้น หรือพระนามเต็มว่า "เจ้ามหาสุภัทรราชะ" ทรงเป็นเจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์ที่ 1 ระหว่างปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระยาคำฟั่น · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเครื่องบรมราชาภิเษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เป็น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ระหว่างวันที่ 4 - 8 พฤษภาคม พุทธศักราช 2493 ปรากฏบันทึกรายละเอียดไว้ ดังนี้.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินทวิชยานนท์

ระเจ้าอินทวิชยานนท์ (125px) (? - พ.ศ. 2440 ขึ้นครองนครเชียงใหม่ พ.ศ. 2416 - พ.ศ. 2440) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าประเทศราชองค์สุดท้ายที่มีอำนาจอย่างแท้จริง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 5 สยามได้ริดรอนอำนาจของเจ้าผู้ครองนครลง ด้วยความจงรักภักดีที่ทรงถวายต่อพระบรมราชวงศ์จักรี อย่างไม่สั่นคลอน กอปรกับเป็นพระบิดาในเจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ ซึ่งนับว่าเป็นการถวายพระเกียรตินับเนื่องเป็นพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ในพระบรมราชวงศ์จักรี และเป็นพระเจ้าประเทศราชเพียงพระองค์เดียวในประวัติศาสตร์ที่ได้รับพระราชทานและยกย่องพระเกียรติยศดังกล่าว.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและพระเจ้าอินทวิชยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ

กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ กู่เจ้านายฝ่ายเหนือ หรือ สุสานราชตระกูล ณ เชียงใหม่ เป็นสุสานหลวงที่เจ้าดารารัศมี พระราชชายาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้อัญเชิญรวบรวมพระบรมอัฐิ และพระอัฐิของเจ้าหลวงและพระบรมวงศานุวงศ์ของราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน ที่ครองนครเชียงใหม่มาประดิษฐานรวมกัน ณ บริเวณลาน วัดสวนดอกวรมหาวิหาร โดยเกิดจากพระดำริเมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและกู่เจ้านายฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ื่อย่อ: ม., STOU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ "มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช" ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พุทธศักราช 2521 มหาวิทยาลัยจึงกำหนดวันที่ 5 กันยายน ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีแบบมหาวิทยาลัยเปิดโดยรับนักศึกษาไม่จำกัดจำนวน ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปิดการศึกษาถึงระดับดุษฎีบัณฑิตในบางสาขาวิชา โดยมีการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาเหมือนมหาวิทยาลัยปิดทั่วไป มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไม่มีชั้นเรียนตามปกติเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป แต่ดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกล ซึ่งจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองจากเอกสารชุดวิชาจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ที่ทางมหาวิทยาลัยจัดไว้ให้นักศึกษา เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อต่าง ๆ เป็นต้น ผู้ที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในอดีต ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจากพระหัตถ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช แต่ในปัจจุบันสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจนถึงปัจจุบัน ภายหลัง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกประกาศที่ 1/2560 เข้าควบคุมมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ทิพย์จักร

ราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ทิพจักราธิวงศ์ หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นราชวงศ์ที่ปกครองนครลำปาง นครเชียงใหม่ และนครลำพูน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและราชวงศ์ทิพย์จักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่

ในสมัยที่เป็นประเทศราชของอาณาจักรธนบุรี เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นมีบรรดาศักดิ์เป็น "พระยาประเทศราช" โดยมีพระยาวิเชียรปราการ (บุญมา) เป็นพระยาเชียงใหม่องค์แรก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มีพระยาเชียงใหม่บางองค์ได้รับสถาปนาเป็น "พระเจ้าประเทศราช" เป็นกรณีพิเศษ เช่น พระเจ้ากาวิละ พระเจ้ามโหตรประเทศ จนวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและรายพระนามเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานนวรัฐ

นนวรัฐในเวลาค่ำคืน สะพานนวรัฐ เป็นสะพานข้ามแม่น้ำปิงแห่งแรกที่ทำด้วยไม้สัก ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2433 ปัจจุบันได้รับการสร้างใหม่ให้เป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก เมื่อปี พ.ศ. 2510จากเว็บไซต์หนังสือพิมพ์ไทยนิวส์ ตั้งอยู่บริเวณใกล้กับโรงเรียนเชียงใหม่คริสเตียน และจวนผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและสะพานนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่

หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2387—2476) เป็นหม่อมในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมศรีนวล ณ เชียงใหม่

ณหญิง หม่อมศรีนวล ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม: นันทขว้าง; เกิด: 25 สิงหาคม พ.ศ. 2462 — อสัญกรรม: 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2534) เป็นภริยาของเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) เจ้าราชบุตรแห่งนครเชียงใหม่ ซึ่งหากไม่มีการยกเลิกตำแหน่งเจ้าผู้ครองนคร ก็จะได้รั้งตำแหน่งเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 10 สืบต่อจากเจ้าแก้วนวรัฐ ผู้เป็น.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและหม่อมศรีนวล ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ธเนศวร์ เจริญเมือง

.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมืองศาสตราจารย์ ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง กรรมการในคณะกรรมการพัฒนาพรรคการเมืองเพื่อการปฎิรูปประเทศตามรัฐธรรมนูญ ตามคำสั่งคณะกรรมการการเลือกตั้งที่ 14/2560 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ อดีตรองเลขาธิการฝ่ายการเมือง ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ สำนักวิชาการเมืองและการปกครอง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและธเนศวร์ เจริญเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ครูบาศรีวิชัย

รูบาศรีวิชัย หรือ พระสีวิไชย พระมหาเถระซึ่งเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สร้างถนนทางขึ้นวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและครูบาศรีวิชัย · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง

''ต้นไม้ทอง'' ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง หรือ ต้นไม้ทองเงิน (bunga mas dan perak "ดอกไม้ทองและเงิน") หรือบุหงามาศ (bunga mas "ดอกไม้ทอง") เป็นเครื่องราชบรรณาการที่ประเทศราชของสยามต้องส่งมาถวายพระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ สามปี เพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ นอกจากนี้ยังใช้เป็นสิ่งของคารวะของเจ้านายหรือขุนนางถวายต่อพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานพระอิสริยยศหรือบรรดาศักดิ์ให้สูงขึ้น เรียกว่า "พุ่มไม้เงินพุ่มไม้ทอง" บ้างก็พบว่ามีการใช้ต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องสักการะถวายเป็นพุทธบูชาในวัด ใน..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและต้นไม้เงินต้นไม้ทอง · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

โกศ

ระเบญจาประดิษฐานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตีพิมพ์ในหนังสือ "Description du Royaume Thai ou Siam" (ตีพิมพ์ภาษาไทยในชื่อ "เล่าเรื่องกรุงสยาม") ของบาทหลวงฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว พิมพ์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อ ค.ศ. 1854 (พ.ศ. 2397) พระบรมโกศ, พระโกศ และ โกศ คือที่ใส่พระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระบรมราชินี และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระบรมศพ,พระศพ และ ศพที่มีบรรดาศักดิ์สูง ในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งดวงพระวิญญาณ /วิญญาณกลับสู่สรวงสวรร.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและโกศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลแมคคอร์มิค

รงพยาบาลแมคคอร์มิค McCormick Hospital เป็นโรงพยาบาลเอกชน ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) โดยคณะมิชชันนารีคณะอเมริกันเพรสไทบีเรียน ตั้งชื่อโรงพยาบาลตามชื่อของนางไซรัส แม็คคอร์มิค (Mrs.Cyrus McCormick) เพื่อเป็นเกียรติที่ได้บริจาคเงินเพื่อสร้างโรงพยาบาล ปัจจุบันโรงพยาบาลแมคคอร์มิค ยังเป็นสถานปฏิบัติการของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพอีกด้ว.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและโรงพยาบาลแมคคอร์มิค · ดูเพิ่มเติม »

ไทใหญ่

ทใหญ่ หรือ ฉาน (တႆး ไต๊; ရှမ်းလူမျိုး) หรือ เงี้ยว (ซึ่งเป็นคำเรียกที่ไม่สุภาพ) คือกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่อันดับสองของพม่า ส่วนมากอาศัยในรัฐฉาน ประเทศพม่า และบางส่วนอาศัยอยู่บริเวณดอยไตแลง ชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศพม่าคนไทใหญ่ในประเทศพม่ามีประมาณ 3 หรือ 4 ล้านคน แต่มีไทใหญ่หลายแสนคนที่ได้อพยพเข้าสู่ประเทศไทย เพื่อหนีปัญหาทางการเมืองและการหางาน ตามภาษาของเขาเองจะเรียกตัวเอง ไต มีหลายกลุ่มเช่น ไตขืน ไตแหลง ไตคัมตี ไตลื้อ และไตมาว แต่กลุ่มใหญ่ที่สุดคือ ไตโหลง (ไต.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและไทใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เชียงแสน

ียงแสน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเชียงแสน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรพรรดิมาลา

หรียญจักรพรรดิมาลา ใช้อักษรย่อว่า ร...

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเหรียญจักรพรรดิมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่

้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ เป็นพระธิดาในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นพี่สาวของเจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) และเจ้าราชบุตร (วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่) เจ้าบัวทิพย์มีความใจด้านศิลปวัฒนธรรม ด้วยส่งเสริมให้มีการ "ฟ้อนเล็บ" จัดแสดงแก่แขกบ้านแขกเมืองและประชาชนทั่วไปให้ได้รับชมช่วงเจ้าแก้วนวรัฐครองเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าบัวทิพย์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว

้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว (140px) เป็นเจ้าผู้ครองนครลำปางพระองค์ที่ 2 ทรงครองนครลำปางในปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าฟ้าสิงหราชธานี เจ้าฟ้าหลวงชายแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน

ณหญิง เจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่; เกิด: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2469 — อสัญกรรม: 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2534) เป็นธิดาในเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน) กับเจ้าภัทรา ณ เชียงใหม่ เป็นพระนัดดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย เจ้าพงศ์แก้ว เป็นผู้บุกเบิกกิจการผ้าไหมในภาคเหนือ และถวายการดูแลผ้าไหมในฉลองพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถคัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าพงศ์แก้ว ณ ลำพูน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงษ์กาวิล ณ เชียงใหม่

้าพงษ์กาวิล ณ เชียงใหม่ หรือ เจ้าพงษ์ เป็นบุตรของเจ้ากาวิละวงศ์ กับเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ เป็นหลานตาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย มีน้องสาวสองคนคือเจ้าศิริกาวิล สิงหรา ณ อยุธยา และเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ สำเร็จการศึกษาด้านเครื่องยนต์ชั้นสูง หลังสำเร็จการศึกษาจึงเปิดอู่ซ่อมรถบริเวณถนนช้างคลานในเชียงใหม่ เจ้าพงษ์กาวิลมักปรากฏตัวกับรถจี๊บหรือรถจักรยานยนต์คันใหญ่ สวมหมวกคาวบอยสีขาว สวมเสื้อคอปกลายสกอตสีน้ำเงิน-ขาวและพับแขน เจ้าพงษ์กาวิลสมรสกับงามวิไล (สกุลเดิม สุกัณศีล) และสมรสกับบุญประกอบ (สกุลเดิม ส่วยสุวรรณ) เจ้าพงษ์กาวิลเสียชีวิตช่วงปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าพงษ์กาวิล ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่

้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2532) เป็นราชโอรสใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับ หม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีขนิษฐาและอนุชา ร่วมเจ้ามารดา 3 องค์ คือ.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่

้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ หรือเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าป้า (16 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2548) เป็นธิดาของเจ้ากาวิละวงศ์ กับเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ และเป็นนัดดาของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่

อำมาตย์ตรี เจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2450 − 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2510) อดีตนายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2504−2508) และเป็นบิดาของเจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล

ณหญิง ดร.เจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่; เกิด: พ.ศ. 2471 - 1 มกราคม พ.ศ. 2558) เป็นธิดาในเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน) กับเจ้าภัทรา ณ เชียงใหม่ เป็นพระนัดดาในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย เจ้าระวีพันธุ์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานมูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ และอดีตประธานมูลนิธิกู่เจ้าหลวงเชียงใหม่ (วัดสวนดอก).

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าระวีพันธุ์ สุจริตกุล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

รองอำมาตย์เอก พลตรี เจ้าราชบุตร หรือพระนามเดิมคือ เจ้าวงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้าราชบุตรองค์สุดท้ายแห่งจังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมผสมที่ 7 ราชองครักษ์พิเศษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นราชโอรสในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับแม่เจ้าจามรีวง.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่)

้าราชวงศ์ (น้อยลาวแก้ว ณ เชียงใหม่) เจ้าราชวงศ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นราชบุตรองค์เดียวของเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าราชวงศ์ (เลาแก้ว ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่

้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ (150px) ผู้สืบราชสกุลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ ทายาทในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นหลานปู่ ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที่ สมรสกับ ชนิดา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "จุลละรัต") ในปี..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าวงศ์สักก์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี

้าวงศ์จันทร์ คชเสนี (สกุลเดิม: ณ เชียงใหม่; 27 มีนาคม พ.ศ. 2450 — 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) นางพยาบาลชาวไทย เป็นธิดาในเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน) กับเจ้าจันทร ณ เชียงใหม่ เป็นพระนัดดาในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้ายคัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์, นาวาอากาศเอก.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่

้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ เป็นธิดาในเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ มีเจ้าพี่เจ้าน้องร่วมหม่อมมารดาคือ เจ้าพงษ์อินทร์ และเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ และมีเจ้าพี่ต่างมารดาอีกสามคน เจ้าศิริประกายสมรสกับเจ้ากาวิละวงศ์ ณ เชียงใหม่ มีบุตร-ธิดา 3 คน คือ.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าศิริประกาย ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่

งานสมรสของเจ้าอินทนนท์กับเจ้าสุคันธา เจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม: ณ เชียงตุง; พ.ศ. 2456 −15 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นพระธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าผู้ครองนครเชียงตุงที่ 40 ประสูติแต่เจ้านางบัวทิพย์หลวง ต่อมาเจ้าสุคันธาสมรสกับเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ พระโอรสของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนสุดท้าย ประดุจสะพานเชื่อมสายสัมพันธ์ระหว่างเชียงตุง-เชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าสุคันธา ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

มหาอำมาตย์โท นายพันเอก เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453) เป็นเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่

้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ (พ.ศ. 2453 - พ.ศ. 2534) เป็นราชโอรสองค์สุดท้ายในพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 (องค์สุดท้าย) กับหม่อมบัวเขียว ณ เชียงใหม่ ชายารองในเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับเจ้าสุคันธา ณ เชียงตุง ราชธิดาในเจ้าฟ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง เจ้าฟ้าหลวงนครเชียงตุง องค์ที่ 40 กับเจ้าบัวทิพย์หลวง มเหสีพระองค์หนึ่ง การสมรสระหว่างเจ้าอินทนนท์ กับเจ้าสุคันธา นับเป็นการสานสัมพันธ์อันดีระหว่างนครเชียงตุง กับนครเชียงใหม่อย่างดียิ่ง.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าอินทนนท์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่)

ร้อยตรี เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) หรือ เจ้าน้อยศุขเกษม (250px) (พ.ศ. 2420-พ.ศ. 2453) ราชโอรสองค์ใหญ่ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ สมรสกับ เจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่ พระญาติในราชวงศ์ทิพย์จักร ดำรงฐานันดรศักดิ์เป็น "เจ้าอุตรการโกศล" ถือศักดินา 1,600 เจ้าน้อยศุขเกษม ถูกกล่าวถึงในบทเพลง มะเมี้ยะ ของ จรัล มโนเพ็ชร ซึ่งกล่าวถึงตำนานรักต้องห้ามระหว่าง เจ้าชายเมืองเหนือ กับ มะเมียะ สาวชาวพม่า แห่ง เมืองมะละแหม่ง ที่จบลงด้วยความเศร้.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจามรีวงศ์

้าจามรี ณ เชียงใหม่ หรือ เจ้าจามรีวงศ์ (บ้างสะกดว่า เจ้าจามรีวงษ์) ภรรยาเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 และเป็นเจ้ามารดาในเจ้าน้อยศุขเกษม ซึ่งถูกกล่าวถึงในบทเพลง "มะเมียะ" ของจรัล มโนเพ็ชร.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าจามรีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแก้วนวรัฐ

มหาอำมาตย์โท พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ (90px) (29 กันยายน พ.ศ. 2405 - 3 มิถุนายน พ.ศ. 2482) เป็นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร และองค์สุดท้ายแห่งนครเชียงใหม.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าแก้วนวรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่

้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ เจ้านายฝ่ายเหนือ โอรสในเจ้าพงษ์อินทร์ ณ เชียงใหม่ กับหม่อมจันทร์สม ณ เชียงใหม่ (สกุลเดิม "ชนะนนท์") เป็นราชนัดดา (หลานปู่) ใน พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าหลวงผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 เกิดที่คุ้มหลวงรินแก้ว (เดิมชื่อคุ้มแจ่งหัวริน) เมื่อวันที.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเจ้าเติมศักดิ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชบรรณาการ

รื่องราชบรรณาการ หรือ เครื่องปัณณาการ หมายถึงสิ่งของที่ผู้มีสภาพด้อยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน ในความหมายทางประวัติศาสตร์ของไทย หมายถึง สิ่งที่พระมหากษัตริย์หรือผู้ปกครองหรือเจ้าประเทศราช จัดส่งไปถวายแด่พระมหากษัตริย์อีกเมืองหนึ่งเพื่อแสดงไมตรีต่อกัน เช่น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช จัดให้เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) เป็นราชทูตเชิญเครื่องราชบรรณาการไปเจริญทางพระราชไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เป็นต้น อีกนัยหนึ่งเครื่องราชบรรณาการ คือ สัญลักษณ์แสดงความสวามิภักดิ์ของผู้เป็นข้าขอบเขตขัณฑสีมาต่อกษัตริย์แห่งแผ่นดินแม่ ในพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 แสดงให้เห็นว่าเมืองประเทศราช จะต้องส่งเครื่องราชบรรณาการเพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ต่อเมืองใหญ่ทุกๆ 3 ปี นอกจากต้นไม้เงินต้นไม้ทอง ก็ไม่พบบันทึกอื่นใดกล่าวถึงเครื่องราชบรรณาการ จนถึง..

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและเครื่องราชบรรณาการ · ดูเพิ่มเติม »

3 มิถุนายน

วันที่ 3 มิถุนายน เป็นวันที่ 154 ของปี (วันที่ 155 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 211 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เจ้าแก้วนวรัฐและ3 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สกุล ณ เชียงใหม่พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๙พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐณ เชียงใหม่เจ้าแก้วนวรัฐ (แก้ว ณ เชียงใหม่)เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๑๐เจ้าแก้วนวรัฐ, เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๙เจ้าแก้วเนาวรัตน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »