สารบัญ
33 ความสัมพันธ์: ฟลอเรนซ์พ.ศ. 1987พ.ศ. 1996พ.ศ. 1998พ.ศ. 2001พ.ศ. 2003พ.ศ. 2543พ.ศ. 2550พระทรมานของพระเยซูพระเยซูถูกเฆี่ยนพันธสัญญาเดิมภาพเหมือนภาษาอังกฤษรูปเคารพศิลปะนามธรรมสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2สงครามครูเสดอุปมานิทัศน์อูร์บีโนจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอสจักรวรรดิไบแซนไทน์จิตรกรรมแผงทัศนมิติประเทศอิตาลีปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกาป็อนติอุส ปีลาตุสนักบุญเจอโรมนักดาราศาสตร์แฟร์ราราแท่นบูชาเบนอซโซ กอซโซลี22 กรกฎาคม29 มีนาคม
- จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1460
ฟลอเรนซ์
ฟลอเรนซ์ (Florence) หรือ ฟีเรนเซ (Firenze) เป็นเมืองหลวงของแคว้นทัสกานีและมณฑลฟลอเรนซ์ในประเทศอิตาลี ระหว่าง..
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และฟลอเรนซ์
พ.ศ. 1987
ทธศักราช 1987 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 1987
พ.ศ. 1996
ทธศักราช 1996 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 1996
พ.ศ. 1998
ทธศักราช 1998 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 1998
พ.ศ. 2001
ทธศักราช 2001 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 2001
พ.ศ. 2003
ทธศักราช 2003 ใกล้เคียงกั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 2003
พ.ศ. 2543
ทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 2543
พ.ศ. 2550
ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพ.ศ. 2550
พระทรมานของพระเยซู
“การตรึงพระเยซูที่กางเขน” โดย ลูคัส ครานาค ราว ค.ศ. 1538 พระทรมานของพระเยซู (Passion of Jesus) เป็นศัพท์ทางเทววิทยาคริสเตียนที่บรรยายเหตุการณ์ความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและทางจิตใจของพระเยซูในช่วงเวลาก่อนที่จะทรงถูกพิจารณาคดี และถูกตัดสินให้ถูกประหารชีวิตโดยการตรึงกางเขน การตรึงพระเยซูที่กางเขนถือเป็นเหตุการณ์สำคัญที่เป็นหัวใจของความเชื่อในคริสต์ศาสนา รากศัพท์ของคำว่า “Passion” มาจากภาษาละติน “passus” (ซึ่งมีรากมาจาก “pati, patior” ที่แปลว่า “ความทรมาน” ที่เกิดจากภายนอก), เป็นคำที่เริ่มใช้ครั้งแรกในข้อเขียนทางคริสต์ศาสนาในคริสต์ศตวรรษที่ 2 ที่บรรยายความทุกข์ทรมานของพระเยซู แต่คำว่า “Passion” มามีความหมายกว้างขึ้นในสมัยต่อมา ส่วนวลี “ความระทมของพระเยซู” (“Agony of Jesus”) มีความหมายเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสวนเกทเสมนี -- “พระเยซูในสวนเกทเสมนี” ที่ทรงอธิษฐานสวดภาวนาในสวนก่อนที่จะทรงถูกจับ “ความระทม” จึงหมายถึงสภาวะทางจิตใจ ข้อเขียนในพระวรสารในสารบบที่บรรยายถึงพระมหาทรมานเรียกว่า “Passion” หรือ “พระทรมานของพระเยซู” พระวรสารอื่นที่บรรยายเหตุการณ์นี้ก็ได้แก่พระวรสารนักบุญเปโตร.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพระทรมานของพระเยซู
พระเยซูถูกเฆี่ยน
งานกระจกสี “พระเยซูถูกเฆี่ยน” ราว ค.ศ. 1240 “พระเยซูที่เสา” ประติมากรรมอิตาลี ค.ศ. 1817 พระเยซูถูกเฆี่ยน (ภาษาอังกฤษ: Flagellation of Christ หรือ Christ at the Column) เป็นฉากหนึ่งจากทุกขกิริยาของพระเยซูซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดชีวิตของพระเยซู “พระเยซูถูกเฆี่ยน” เป็นหัวเรื่องของศิลปะคริสต์ศาสนาที่ศิลปินนิยมสร้างหรือเขียนที่แปลงมาจากทางสู่กางเขนแต่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของภาพชุดดั้งเดิม คอลัมน์ที่พระเยซูถูกมัด, แส้, หรือไม้เบิร์ชเป็นองค์ประกอบในอุปกรณ์การทรมานพระเยซู (Arma Christi)—สถาบันหลายแห่งอ้างว่าเป็นเจ้าของอุปกรณ์เหล่านี้รวมทั้งบาซิลิกา ดิ ซานตา พราสเซเด (Basilica di Santa Prassede) ในกรุงโรมที่อ้างว่าเป็นเจ้าของคอลัมน์ที่พระเยซูถูกมั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพระเยซูถูกเฆี่ยน
พันธสัญญาเดิม
ันธสัญญาเดิม (Old Testament) เป็นศัพท์ศาสนาคริสต์ใช้เรียกคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งเป็นชุดคัมภีร์ของชาววงศ์วานอิสราเอลโบราณ ที่รวมกันเป็นส่วนแรกของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์ จำนวนหนังสือในพันธสัญญาเดิมจะแตกต่างกันตามแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ นิกายโปรเตสแตนต์ยอมรับเฉพาะหนังสือ 24 เล่มในคัมภีร์ทานัคว่าเป็นพันธสัญญาเดิม แต่แบ่งใหม่เป็น 39 เล่ม ส่วนนิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ คอปติกออร์ทอดอกซ์ และคริสตจักรแห่งเอธิโอเปีย มีจำนวนหนังสือที่รับเข้าในสารบบพันธสัญญาเดิมของตนมากกว.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และพันธสัญญาเดิม
ภาพเหมือน
หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และภาพเหมือน
ภาษาอังกฤษ
ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และภาษาอังกฤษ
รูปเคารพ
“พระเยซู” โดยอันเดร รูเบลฟ (Andrei Rublev) ราวปี ค.ศ. 1410 รูปเคารพทำจากเซรามิคจากราวปีค.ศ. 900 จากเพรสลาฟ ประเทศบัลกาเรีย รูปเคารพ (ภาษาอังกฤษ: icon; ภาษากรีก: εἰκών, eikon) คือรูป, รูปเหมือน หรือสิ่งที่สร้างแทน ที่ทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์แทนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในสมัยปัจจุบัน “รูปเคารพ” โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมโดยทั่วไปจะหมายถึงสัญลักษณ์เช่นชื่อ, หน้า, รูป หรือคนที่เป็นที่รู้จักที่มีชื่อเสียงที่มีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง การใช้สิ่งของหรือรูปเป็นสัญลักษณ์ของสิ่งที่มีความสำคัญเหนือกว่าไม่ว่าจะเป็นตามตัวอักษรหรือตามการตีความหมายมักจะใช้ในศาสนา, วัฒนธรรม, การเมือง, หรือทางเศรษฐกิจ ในประวัติศาสตร์ลัทธินิยมทางศาสนาหรือวัฒนธรรมทางศาสนารูปเคารพจะมีอิทธิพลมาจากรูปที่เป็นตัวเป็นตนไม่ว่าจะเป็นรูปสองหรือสามมิติ ความประสงค์ของรูปเคารพไม่ว่าจะเป็นเพื่อการสั่งสอนหรือเป็นแรงบันดาลใจ หรือวิธีใช้เช่นเพื่อการบูชาหรือเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือความสำคัญของการใช้รูปเคารพก็ขึ้นอยู่กับสถาบันที่ใช้และสมัยของการใช้.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และรูปเคารพ
ศิลปะนามธรรม
''เปอีย์ซาจโอดิสก์'' โดยโรแบร์ต เดอลูเนย์ ค.ศ. 1906-1907 ศิลปะนามธรรม (Abstract Art) ใช้ภาษาภาพในการสื่อความหมายด้วย สี และลายเส้น เพื่อสร้างสัดส่วนซึ่งอาจจะประกอบขึ้นในระดับความเป็นนามธรรมที่แตกต่างกันไป ตั้งแต่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาไปจนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปะตะวันตกรับอิทธิพลในการใช้ทัศนมิติและความพยายามในการทำให้สมจริงมากที่สุด ขณะที่ศิลปะของวัฒนธรรมนอกทวีปยุโรปถูกเข้าถึงและแสดงให้เห็นแนวทางอันหลากหลายในการอธิบายทัศนประสบการณ์ของตัวศิลปิน จนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปินหลายคนรู้สึกถึงความต้องการที่จะสร้างสรรค์ศิลปะแนวใหม่ ซึ่งสามารถที่จะถ่ายทอดการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของเทคโนโลยี, วิทยาศาสตร์ และปรัชญา ต้นตอที่ทำให้ศิลปินสร้างสรรค์งานศิลปะของตัวเองนั้นมีหลากหลาย และสะท้อนให้เห็นสภาพก่อนการเปลี่ยนแปลงทั้งทางสังคมและปัญญาในทุกแง่มุมของวัฒนธรรมยุโรปในขณะนั้น ศิลปะนามธรรม ศิลปะไร้รูปแบบตายตัว ศิลปะไร้รูปธรรม และศิลปะไม่แสดงลักษณ์ คือศิลปะที่เกี่ยวข้องกันอย่างหลวมๆ แม้ในความหมายเชิงลึกอาจมีความแตกต่างกันก็ตาม ศิลปะนามธรรมชี้ให้เห็นการละทิ้งค่านิยมในการสร้างสรรค์ภาพให้มีความสมจริงของวงการศิลปะ การวาดภาพโดยที่ไม่เน้นความสมจริงนี้อาจแสดงไว้เพียงเล็กน้อย, บางส่วน หรืออาจจะแสดงไว้โดยสมบูรณ์ทั้งชิ้นงาน ศิลปะนามธรรมคงอยู่ต่อเนื่องเรื่อยมา แม้แต่ศิลปะที่พยามยามจะทำให้มีองศามากที่สุดก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นศิลปะนามธรรม และตั้งแต่การแสดงภาพอย่างสมบูรณ์แบบเริ่มมีความยุ่งยากที่จะเข้าถึงแก่นแท้ งานศิลปะที่ใช้ความเป็นอิสระและแตกต่างไปจากเดิมทั้งรูปแบบและการใช้สีซึ่งมีความเด่นสะดุดตาก็อาจถูกเรียกว่าเป็นศิลปะนามธรรมได้ด้วยเช่นกัน ศิลปะนามธรรมโดยสมบูรณ์คือศิลปะที่ไม่สามารถโยงเข้ากับแหล่งอ้างอิงรูปธรรมใดได้เลย ตัวอย่างเช่น ในศิลปะนามธรรมทรงเรขาคณิตน้อยครั้งที่จะพบแหล่งต้นตอของแนวคิดหรือรูปทรงที่ปรากฏเป็นรูปธรรมในธรรมชาติ ซึ่งทั้งศิลปะรูปแบบตายตัวและศิลปะนามธรรมโดยสมบูรณ์ต่างก็มีความเฉพาะตัวที่เหมือน แต่ศิลปะรูปแบบตายตัวและศิลปะเสมือนจริง (หรือศิลปะสัจนิยม) มักจะมีบางส่วนที่เป็นนามธรรมปรากฏด้วยอยู่บ่อยครั้ง ทั้งศิลปะนามธรรมทรงเรขาคณิตและศิลปะนามธรรมแบบพลิ้วไหวมักจะมีความเป็นนามธรรมโดยสมบูรณ์อยู่บ่อยครั้ง และหนึ่งในพัฒนาการอันหลากหลายของศิลปะที่กลายมาเป็นศิลปะนามธรรมบางส่วน เช่น ศิลปะคติโฟวิสต์ที่เน้นการใช้สีแบบผิดแปลกอย่างจงใจและเด่นชัด หรือลัทธิคิวบิสม์ที่เน้นการทำให้รูปแบบการวาดภาพสิ่งต่างๆ ในชีวิตจริงผิดแผกไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชั.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และศิลปะนามธรรม
สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2
thumb สมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2 (อังกฤษ: Pius II) ทรงดำรงตำแหน่งพระสันตะปาปาตั้งแต่ ค.ศ. 1458 ถึง ค.ศ. 1464 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 2
สงครามครูเสด
กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และสงครามครูเสด
อุปมานิทัศน์
''อุปมานิทัศน์ของดนตรี'' โดยฟีลิปปีโน ลิปปี “อุปมานิทัศน์ของดนตรี” เป็นหัวเรื่องที่นิยมกันในจิตรกรรมในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เช่นการที่ลิบปีใช้ในภาพเขียนภาพนี้ซึ่งใช้ตำนานกรีกเป็นสัญลักษณ์ อุปมานิทัศน์ (Allegory) มาจากภาษากรีก “αλλος” หรือ “allos” ที่แปลว่า “อื่น” และคำว่า “αγορευειν” หรือ “agoreuein” ที่แปลว่า “การพูดในที่สาธารณะ” ซึ่งหมายถึงศิลปะที่ใช้สัญลักษณ์แทนความหมายโดยตรงในภาษาเขียน อุปมานิทัศน์มิได้ใช้แต่ในงานวรรณกรรม แต่อาจจะใช้ทางจักษุศิลป์ซึ่งมักจะพบในจิตรกรรมหรือประติมากรรม หรือ การแสดงสัญลักษณ์ทางศิลปะอื่นๆ ความหมายทางภาษาศาสตร์จะกว้างกว่าที่ใช้กันโดยทั่วไป ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” จะมีน้ำหนักกว่ามากกว่าการใช้ “อุปลักษณ์” (metaphor) และเมื่อใช้ก็จะทำให้ผู้รับเกิดแรงบันดาลใจทางจินตนาการมากกว่า ขณะที่ “แนวเทียบ” (analogy) จะคำนึงถึงเหตุผลและตรรกศาสตร์มากกว่า เช่น “นิทานคติสอนใจ” (parable) จะเป็น “แนวเทียบ” ที่มีคำสอนทางจริยธรรมเพียงหัวข้อเดียว ความหมายของ “อุปมานิทัศน์” มักจะเป็นสัญลักษณ์แทนความหมายของหัวข้อที่กว้างกว่าการใช้ “แนวเทียบ” ฉะนั้นในงาน “อุปมานิทัศน์” ชิ้นหนึ่งก็อาจจะมี “แนวเทียบ” หลายประเด็น จึงทำให้ตีความหมายกันไปได้หลายอย่าง ซึ่งบางครั้งก็อาจจะบิดเบือนไปจากความหมายที่ศิลปินตั้งใจเอาไว้ เช่นบางคนให้ความเห็นว่า “อุปมานิทัศน์” ของ “เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์” คือสงครามโลกเป็นต้น แต่วรรณกรรมชิ้นนี้เขียนก่อนที่สงครามโลกครั้งที่สอง จะเกิดขึ้น และถึงแม้ว่า เจ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และอุปมานิทัศน์
อูร์บีโน
อูร์บีโน (Urbino) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในจังหวัดเปซาโรและอูร์บีโน แคว้นมาร์เค ประเทศอิตาลี อูร์บีโนเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ในวัฒนธรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาที่เป็นลักษณะเฉพาะตัวโดยเฉพาะในสมัยของเฟเดรีโก ดา มอนเตเฟลโตร ดยุกแห่งอูร์บีโนระหว่าง..
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และอูร์บีโน
จักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส
ักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส (John VIII Palaiologos; Ίωάννης Η' Παλαιολόγος) (18 ธันวาคม ค.ศ. 1392 – 31 ตุลาคม ค.ศ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และจักรพรรดิจอห์นที่ 8 พาลาโอโลกอส
จักรวรรดิไบแซนไทน์
ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และจักรวรรดิไบแซนไทน์
จิตรกรรมแผง
"ฉากแท่นบูชาเกนต์" โดยยัน ฟัน ไอก์ และพี่ชาย, ค.ศ. 1432. ฉากแท่นบูชา (altarpiece) บนแผ่นไม้ เขียนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง จิตรกรรมแผง (panel painting) คือการเขียนภาพบนแผ่นไม้ อาจจะเป็นแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นเชื่อมต่อกันเป็นเนื้อเดียว ซึ่งแตกต่างกับบานพับภาพที่จะแยกจากกัน (บานพับภาพ มักรวมเรียกเป็นส่วนหนึ่งของจิตรกรรมแผง) แผ่นไม้ใช้เป็นพื้นสำหรับวาดภาพจนกระทั่งถูกแทนที่ด้วยผ้าใบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 นอกเหนือไปจากการวาดบนผนัง หรือบนหนังสัตว์ ซี่งวัสดุชนิดหลังนี้นิยมใช้ในการวาดหนังสือวิจิตร หรือเขียนภาพสำหรับใส่กรอ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และจิตรกรรมแผง
ทัศนมิติ
ทัศนมิติแบบสองจุด ทัศนมิติ (perspective) หรือทับศัพท์ว่าเพอร์สเปกทีฟ คือการเขียนภาพให้ปรากฏออกมาในลักษณะที่เหมือนการมองเห็นจริง โดยปรกติมักจะใช้เพื่อการนำเสนอภาพจำลองของแนวความคิดในการออกแบบผลงาน เช่นภาพงานอาคารในงานสถาปัตยกรรม ภาพการตกแต่งภายในสำหรับงานมัณฑนศิลป เป็นต้น.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และทัศนมิติ
ประเทศอิตาลี
อิตาลี (Italy; Italia อิตาเลีย) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐอิตาลี (Italian Republic; Repubblica italiana) เป็นประเทศในทวีปยุโรป บริเวณยุโรปใต้ ตั้งอยู่ในคาบสมุทรอิตาลีที่มีรูปทรงคล้ายรองเท้าบูต และมีเกาะ 2 เกาะใหญ่ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน คือ เกาะซิซิลีและเกาะซาร์ดิเนีย และพรมแดนตอนเหนือแบ่งประเทศโดยเทือกเขาแอลป์ กับประเทศฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ ออสเตรีย และสโลวีเนีย ประเทศอิตาลีเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป เป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ นาโต และกลุ่มจี 8 มีประเทศอิสระ 2 ประเทศ คือ ซานมารีโนและนครรัฐวาติกัน เป็นดินแดนที่ล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ของอิตาลี ในขณะที่เมืองกัมปีโอเนดีตาเลีย เป็นดินแดนส่วนแยกของอิตาลีที่ถูกล้อมรอบด้วยพื้นที่ประเทศสวิตเซอร์แลน.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และประเทศอิตาลี
ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา
ระเยซูคืนชีพ” (Resurrection) รายละเอียดจากภาพประวัติของสัตยกางเขน พระเยซูคืนชีพ เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา (ภาษาอังกฤษ: Piero della Francesca) (ราว ค.ศ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา
ป็อนติอุส ปีลาตุส
ภาพความวุ่นวายของฝูงชนชาวยิวที่มาเรียกร้องให้ประหารพระเยซู ต่อหน้าปีลาตุส โดยศิลปินนิรนาม นี่คือตัวอย่างของผู้ที่มารับบทปีลาตุสในภาพยนตร์ แสดงโดยไมเคิล พาลิน ป็อนติอุส ปีลาตุส (Pontivs Pilatvs) เป็นข้าหลวงชาวโรมันผู้ว่าการมณฑลจูดีอา (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอลถึงเลบานอน) ในสมัยจักรพรรดิติแบริอุส และเป็นผู้สั่งประหารพระเยซูเพราะถูกเสียงกดดันจากฝูงชนชาวยิวที่ไม่เชื่อว่าพระเยซูเป็นบุตรของพระเจ้าที่มาเรียกร้องในที่ว่าการอำเภอให้ออกหมายสั่งประหารพระเยซู คริสต์ศาสนานิกายเอธิโอเปียและนิกายโบสถ์ตะวันออกนับถือปีลาตุสเป็นนักบุญ หมวดหมู่:นักบุญในคริสต์ศตวรรษที่ 1 หมวดหมู่:โรมัน หมวดหมู่:ศาสนาคริสต์.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และป็อนติอุส ปีลาตุส
นักบุญเจอโรม
นักบุญเจอโรม หรือ นักบุญเยโรม (Jerome; Eusebius Sophronius Hieronymus; Ευσέβιος Σωφρόνιος Ιερώνυμος) เป็นบาทหลวงชาวโรมัน เกิดเมื่อประมาณปี..
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และนักบุญเจอโรม
นักดาราศาสตร์
''กาลิเลโอ'' ผู้ได้รับยกย่องทั่วไปว่าเป็นบิดาของนักดาราศาสตร์ยุคใหม่ นักดาราศาสตร์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ทำการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับดาราศาสตร์หรือฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แต่เดิมมาในอดีตกาล นักดาราศาสตร์ นักฟิสิกส์ หรือนักปรัชญา มักจะเป็นบุคคลคนเดียวกัน เพราะเป็นผู้สืบหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ ต่อมาผู้ที่ให้ความสนใจกับปรากฏการณ์บนท้องฟ้าเป็นพิเศษ จึงเรียกเฉพาะเจาะจงไปว่าเป็น "นักดาราศาสตร์" หมวดหมู่:อาชีพ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และนักดาราศาสตร์
แฟร์รารา
แฟร์รารา (Ferrara) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญาในประเทศอิตาลี แฟร์ราราเป็นเมืองหลวงของจังหวัดแฟร์รารา แฟร์ราราตั้งอยู่ประมาณ 50 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของโบโลญญาบนฝั่งโปดิโวลาโนซึ่งเป็นแควของแม่น้ำโป ตัวเมืองมีถนนกว้างและวังและคฤหาสน์มากมายจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 และ 15 เมื่อเป็นที่ตั้งสำนักของตระกูลเอสเต ความงามและความสำคัญทางวัฒนธรรมของแฟร์ราราทำให้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกในปี..
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และแฟร์รารา
แท่นบูชา
แท่นบูชา แท่นบูชา (altar) เป็นโต๊ะศักดิ์สิทธิ์ ที่ใช้วางสิ่งของที่ใช้ในพิธีมิสซาในคริสต์ศาสนสถาน ต้องจัดวางไว้ให้เด่นที่สุดในโบสถ์ และไม่ใช่เป็นโต๊ะวางสิ่งของจิปาถะ แท่นบูชาใช้วางผ้ารองศีล ผ้าเช็ดกาลิกส์ หนังสือมิสซา ถ้วยกาลิกส์ และแผ่นปัง แท่นบูชามีประโยชน์ใช้สอยทางสถาปัตยกรรมในฐานะเป็นองค์ประกอบสำคัญในการประกอบพิธีกรรม และไม่ใช่เป็นเพียงเครื่องประดับตกแต่งอาคาร บนแท่นบูชานี้ จะต้องจัดให้สามารถนำภาชนะศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ สำหรับภาคถวายมาวางไว้ได้อย่างสะดวกในเวลาประกอบพิธี เช่น จานรองศีล พร้อมแผ่นปัง กาลิกส์ที่มีเหล้าองุ่น นอกจากนี้ยังมีหนังสือพิธีมิสซา ไมโครโฟน และสิ่งอื่นเท่าที่จำเป็น แท่นบูชาไม่ใช่โต๊ะวางของ จึงควรมีเฉพาะสิ่งที่จำเป็นสำหรับภาคถวายเท่านั้น แท่นบูชาของคริสตชนในสมัยแรกเป็นโต๊ะไม้เคลื่อนที่ได้ ต่อมาเป็นแบบตั้งอยู่กับที่ และในจารีตละตินให้เป็นแบบทำศิลาหรือหินเพื่อให้สอดคล้องกับธรรมเนียมของพระศาสนจักรที่รับสืบทอดกันมา และให้สอดคล้องกับ สัญลักษณ์จากพระคัมภีร์เกี่ยวกับแท่นบูชาจะต้องทำด้วยหิน และหินธรรมชาติด้วย ซึ่งแท่นหรือหินเป็นรูปแบบที่ชาวอิสราเอลใช้เป็นที่ถวายเครื่องบูชาแด่พระเจ้า แท่นบูชามี 2 แบบ คือ.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และแท่นบูชา
เบนอซโซ กอซโซลี
นนอซโซ กอซโซลิ (Benozzo Gozzoli ชื่อเมื่อแรกเกิด: Benozzo di Lese, ราว ค.ศ. 1421 - ค.ศ. 1497) เป็นจิตรกรสมัยศิลปะเรอเนซองส์คนสำคัญของประเทศอิตาลีจากฟลอเรนซ์ ของคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง งานของกอซโซลิที่สุดคือจิตรกรรมฝาผนังภายในวังเมดิชิ (Palazzo Medici) ซึ่งแสดงขบวนที่หรูหราที่เต็มไปด้วยรายละเอียดและมีอิทธิพลจากศิลปะกอธิคนานาชาติ (International Gothic).
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และเบนอซโซ กอซโซลี
22 กรกฎาคม
วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และ22 กรกฎาคม
29 มีนาคม
วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.
ดู พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)และ29 มีนาคม
ดูเพิ่มเติม
จิตรกรรมในคริสต์ทศวรรษ 1460
- การคืนพระชนม์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)
- ประวัติของไม้กางเขนแท้
- พระเยซูถูกเฆี่ยน (เปียโร เดลลา ฟรานเชสกา)
- พระแม่มารีซอลทิง (เมสสินา)
- พระแม่มารีแห่งพาร์โต
- ห้องเจ้าสาว (มานเทนยา)
- แม่พระมหาการุณย์ (ปีเอโร เดลลา ฟรันเชสกา)
- แม่พระและพระกุมารกับทูตสวรรค์ (บอตตีเชลลี)