โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าเสนาเล

ดัชนี พระเจ้าเสนาเล

ระเจ้าเสนาเลเป็นพระโอรสของพระเจ้าตริสองเดซันและเป็นน้องชายของพระเจ้ามุนีสันโป ทรงทำนุบำรุงพุทธศาสนาด้วยดีตลอดรัชกาล มีพระโอรส 3 พระองค์ องค์แรกสละสิทธิในราชบัลลังก์ออกบวชเป็นพระภิกษุ ราชสมบัติจึงเป็นของพระเจ้าราลปาเชน ราชโอรสองค์ที่ 2 และพระเจ้าลางทรมา พระโอรสองค์ที่ 3 ตามลำดั.

6 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1358พระเจ้าราลปาเชนพระเจ้าลางทรมาพระเจ้าตริสองเดซันภิกษุศาสนาพุทธ

พ.ศ. 1358

ทธศักราช 1358 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเสนาเลและพ.ศ. 1358 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราลปาเชน

ระเจ้าราลปาเชน เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ของพระเจ้าเสนาเล ในรัชสมัยของพระองค์มีการทะนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างมาก สนับสนุนการแปลพระไตรปิฎก ทรงรับไตรสรณคมน์ทุกครั้งก่อนออกว่าราชการ การอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาของพระองค์สร้างความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการและประชาชนที่นับถือศาสนาบอน ทรงครองราชย์อยู่นาน 20 ปี ปลายรัชกาลเกิดความยุ่งยากในราชวงศ์ พระองค์เสด็จสวรรคตโยพลัดตกจากบันได ชาวทิเบตโดยทั่วไปเชื่อว่าพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: พระเจ้าเสนาเลและพระเจ้าราลปาเชน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าลางทรมา

ระเจ้าลางทรมา (གླང་དར་མ་།་འུ་དུམ་བཙན་པོ) เป็นพระโอรสของพระเจ้าเสนาเลและเป็นอนุชาของพระเจ้าราลปาเชน ทรงไม่เห็นด้วยกับการปกครองของพระเจ้าราลปาเชน ที่สนับสนุนพุทธศาสนามากเกินไป เมื่อขึ้นครองราชย์ พระองค์หันไปสนับสนุนศาสนาบอน สั่งทำลายวัดในพระพุทธศาสนา บังคับให้พระภิกษุสึก ในที่สุดพระองค์ถูกพระภิกษุชื่อ เปยี ดอร์เจ ลอบสังหารด้วยธนูจนสิ้นพระชนม์ ในการลอบปลงพระชนม์พระเจ้าลางทรมา เปยี ดอร์เจแต่งตัวด้วยชุดดำ ทาสีม้าให้เป็นสีดำ จึงเป็นที่มาของการร่ายรำชุดหมวกดำของพระชาวทิเบต ซึ่งเป็นการระลึกถึงการสิ้นสุดของการทำลายล้างพุทธศาสน.

ใหม่!!: พระเจ้าเสนาเลและพระเจ้าลางทรมา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตริสองเดซัน

ระเจ้าตริสองเดซัน (ภาษาทิเบต: ཁྲི་སྲོང་ལྡེ་བཙན, khri srong lde btsan;, ชื่อซงเต๋อซั่น) เป็นพระโอรสของพระเจ้ามีอาธอมซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซรอนซันกัมโป พระมารดาคือเจ้าหญิงจินเจินจากจีน ครองราชย์เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าเสนาเลและพระเจ้าตริสองเดซัน · ดูเพิ่มเติม »

ภิกษุ

กษุ หรือ พระภิกษุ (บาลี: ภิกขุ; สันสกฤต: ภิกษุ) เป็นคำใช้เรียก "นักบวชชาย" ในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ คู่กับภิกษุณี (นักบวชหญิง) คำว่า ภิกษุ เป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนา เป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนา มีความหมายว่า ผู้ขอ (ขออาหาร เป็นต้น) และสามารถแปลว่า ผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ก็ได้ ดังรูปวิเคราะห์ว่า "วฏฺฏสํสาเร ภยํ อิกฺขตีติ ภิกฺขุ" ในประเทศไทยและประเทศลาว มีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่า "พระ" แปลว่าผู้ประเสร.

ใหม่!!: พระเจ้าเสนาเลและภิกษุ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: พระเจ้าเสนาเลและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »