สารบัญ
19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2428พ.ศ. 2463พ.ศ. 2464พ.ศ. 2476พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรักพระเจ้าฆอซีแห่งอิรักราชอาณาจักรอิรักสมเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรักสมเด็จพระราชินีฮะซัยมาแห่งอิรักประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศอิรักประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซีเรียแบร์น20 พฤษภาคม23 สิงหาคม24 กรกฎาคม8 กันยายน8 มีนาคม
- บุคคลจากญิดดะฮ์
- บุคคลจากมักกะฮ์
- พระมหากษัตริย์อิรัก
- มุสลิมนิกายซุนนีชาวอิรัก
- ราชวงศ์ฮัชไมต์
พ.ศ. 2428
ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและพ.ศ. 2428
พ.ศ. 2463
ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและพ.ศ. 2463
พ.ศ. 2464
ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและพ.ศ. 2464
พ.ศ. 2476
ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและพ.ศ. 2476
พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก
ระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก (الملك فيصل الثان, Al-Malik Fayṣal Ath-thānī) พระนามเต็ม อัลมะลิก ฟัยศ็อล อัษษานี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 - 14 กรกฎาคม พ.ศ.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก
พระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก
ระเจ้าฆอซีที่ 1 แห่งอิรัก หรือ ฆอซี บิน ฟัยศ็อล (غازي ابن فيصل, Ġāzī bin Fayṣal; 21 มีนาคม พ.ศ. 2455 - 4 เมษายน พ.ศ. 2482) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์อิรัก ระหว่างปี..
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและพระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก
ราชอาณาจักรอิรัก
ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและราชอาณาจักรอิรัก
สมเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรัก
มเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรัก หรือ เจ้าหญิงอะลียะฮ์ บินต์ อะลีแห่งเฮแจซ (พ.ศ. 2454 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นเจ้าหญิงอาหรับ และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งอิรัก โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีแห่งอิรักในรัชสมัยของพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก พระนางทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์สุดท้ายแห่งอิรัก.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและสมเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรัก
สมเด็จพระราชินีฮะซัยมาแห่งอิรัก
มเด็จพระราชินีฮะซัยมาแห่งอิรัก หรือ เจ้าหญิงฮะซัยมา บินต์ นาศิร (พ.ศ. 2427 - พ.ศ. 2478) ทรงเป็นเจ้าหญิงอาหรับ และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกและสุดท้ายแห่งซีเรีย ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกแห่งอิรัก โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรัก และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีแห่งอิรักในรัชสมัยของพระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและสมเด็จพระราชินีฮะซัยมาแห่งอิรัก
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ประเทศอิรัก
ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและประเทศอิรัก
ประเทศซาอุดีอาระเบีย
ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและประเทศซาอุดีอาระเบีย
ประเทศซีเรีย
ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและประเทศซีเรีย
แบร์น
แบร์น (Bern; Berne) หรือ แบร์นา (อิตาลีและBerna) เป็นเมืองหลวงโดยพฤตินัยของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีประชากรประมาณ 130,000 คน มีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ ภาษาราชการที่ใช้ในกรุงแบร์นคือ ภาษาเยอรมัน แต่คนในเมืองส่วนใหญ่นิยมพูดภาษาเยอรมันแบร์นเป็นภาษาถิ่น ในปี..
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและแบร์น
20 พฤษภาคม
วันที่ 20 พฤษภาคม เป็นวันที่ 140 ของปี (วันที่ 141 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 225 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและ20 พฤษภาคม
23 สิงหาคม
วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและ23 สิงหาคม
24 กรกฎาคม
วันที่ 24 กรกฎาคม เป็นวันที่ 205 ของปี (วันที่ 206 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 160 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและ24 กรกฎาคม
8 กันยายน
วันที่ 8 กันยายน เป็นวันที่ 251 ของปี (วันที่ 252 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 114 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและ8 กันยายน
8 มีนาคม
วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันที่ 67 ของปี (วันที่ 68 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 298 วันในปีนั้น.
ดู พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรักและ8 มีนาคม
ดูเพิ่มเติม
บุคคลจากญิดดะฮ์
- นาวาซ ชาริฟ
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรัก
บุคคลจากมักกะฮ์
- พระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรัก
- ฟาฏิมะฮ์
- มุฮัมมัด
- สมเด็จพระราชินีมุสบาห์ บิน นัสเซอแห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระเจ้าอับดุลลอฮ์ที่ 1 แห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน
- อะบูบักร์
- อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ
- เคาะดีญะฮ์ บินต์ คุวัยลิด
พระมหากษัตริย์อิรัก
- พระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรัก
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก
- รายพระนามพระมหากษัตริย์อิรัก
มุสลิมนิกายซุนนีชาวอิรัก
- ซัดดัม ฮุสเซน
- พระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรัก
- ยูนิส มะห์มูด
ราชวงศ์ฮัชไมต์
- พระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 1 แห่งอิรัก
- พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก
- ราชอาณาจักรฮิญาซ
- รายพระนามพระมหากษัตริย์จอร์แดน
- รายพระนามพระมหากษัตริย์อิรัก
- สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2 แห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระราชินีนูร์แห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระราชินีไซน์ อัล-ชาราฟ เฏาะลาลแห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระเจ้าอับดุลลอฮ์ที่ 1 แห่งจอร์แดน
- สมเด็จพระเจ้าเฏาะลาลแห่งจอร์แดน
- เจ้าชายกาห์ซี บิน มูฮัมหมัด
- เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล
- เจ้าชายราตไฮต์ บิน ฮัสซัน
- เจ้าชายอาลี บิน ฮุสเซน
- เจ้าชายฮัสซัน บิน เฏาะลาล
- เจ้าชายฮุซัยน์ มกุฎราชกุมารแห่งจอร์แดน
- เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด