โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าจุงจง

ดัชนี พระเจ้าจุงจง

ระเจ้าจุงจง (ค.ศ. 1488 - ค.ศ. 1544) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 11 ของ อาณาจักรโชซ็อน (ค.ศ. 1506 - ค.ศ. 1544).

21 ความสัมพันธ์: บัลลังก์จอมนางชาวแมนจูพระราชวังคย็องบกพระสนมชางบิน แห่งอันซาน ตระกูลอันพระสนมฮีบิน ตระกูลฮงพระสนมคย็องบินพระนางช็องฮย็อนพระนางมุนจ็องพระนางทันกย็องพระเจ้ามย็องจงพระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อนพระเจ้าอินจงแห่งโชซ็อนพระเจ้าซ็องจงแห่งโชซ็อนรัฐประหารพระเจ้าจุงจงราชวงศ์โชซ็อนลีเยินเซ็งเจ้าชายพกซ็องเจ้าชายย็อนซันเจ้าชายท็อกฮึงเจ้าหญิงฮโยฮเย

บัลลังก์จอมนาง

ัลลังก์จอมนาง เป็นละครเกาหลีที่ออกอากาศทางช่อง True Film Asia ของทรูวิชั่น.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและบัลลังก์จอมนาง · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและชาวแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังคย็องบก

ระราชวังคย็องบก (경복궁) ตั้งอยู่ที่ตอนเหนือของโซล ประเทศเกาหลีใต้ เป็นหนึ่งในห้าพระราชวังใหญ่ที่สร้างขึ้นโดยราชวงศ์โชซ็อน สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1937 (ค.ศ. 1394) โดยช็อง โด-จ็อน และได้กลายเป็นพระราชวังหลวงหรือวังหลักสำหรับประทับว่าราชการของกษัตริย์และเหล่าเชื้อพระวงศ์ของเกาหลีมาโดยตลอด และได้รับการต่อเติมโดยพระเจ้าแทจงและพระเจ้าเซจงมหาราช แต่บางส่วนของพระราชวังนั้นถูกเพลิงเผาวอดในช่วงที่ญี่ปุ่นบุกประเทศเกาหลี พระราชวังมีเนื้อที่ 5.4 ล้านตารางฟุต โดยในช่วงต้นราชวงศ์โชซ็อนมีตำหนักอาคารมากถึง 200 อาคาร กระทั่งปี พ.ศ. 2135 ที่กองทัพญี่ปุ่นบุกรุกประเทศเกาหลี ตำหนักต่าง ๆ ได้ถูกทุบทำลาย ถูกเผาทิ้งไปเป็นจำนวนมาก ก่อนที่จะได้รับการบูรณะซ่อมแซมและสร้างพระราชวังขึ้นมาใหม่ในแบบฉบับเดิม โดยในปัจจุบันมีตำหนักทั้งสิ้น 10 ตำหนัก คำว่า "คย็องบกกุง" ในภาษาเกาหลี แปลว่า "พระราชวังแห่งพรที่ส่องสว่าง (The Palace of Shining Blessings)".

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระราชวังคย็องบก · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมชางบิน แห่งอันซาน ตระกูลอัน

ระสนมชางบิน เป็นหนึ่งในสามพระสนมเอกที่ พระเจ้าจุงจง ทรงโปรดปรานและเป็นพระอัยยิกาของ พระเจ้าซอนโจ ประสูติเมื่อปี ค.ศ. 1499 ได้เข้าถวายตัวเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระสนมชางบิน แห่งอันซาน ตระกูลอัน · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมฮีบิน ตระกูลฮง

ระสนมฮีบิน ตระกูลฮง (ค.ศ. 1494-1581) เป็นหนึ่งในสามพระสนมเอกของ พระเจ้าจุงจง ถูกขับออกจากวังเพราะความทะเยอทะยาน พระสนมฮีบิน มีพระนามเดิมว่าอย่างไรไม่ปรากฏประสูติเมื่อปี ค.ศ. 1494 เป็นธิดาของใต้เท้านัมยางหรือ ฮงคยองจู ขุนนางผู้ใหญ่ที่ช่วยให้พระเจ้าจุงจงได้ครองราชย์ต่อมาใต้เท้านัมยางได้ถวายตัวธิดาให้เป็นพระสนมซึ่งพระนางก็ได้ประสูติพระราชโอรส 2 พระองค์คือ องค์ชายกึมวอน และ องค์ชายพงซอน เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าจุงจงพระนางก็ถูก พระพันปีมุนจอง ขับออกจากวังเพราะความทะเยอทะยานของตัวพระสนมฮีบินเองเมื่อถูกขับออกจากวังพระสนมฮีบินก็ได้ไปบวชเป็นชีที่วัดแห่งหนึ่ง พระสนมฮีบินสิ้นพระชนม์ในรัชกาล พระเจ้าซอนโจ เมื่อปี ค.ศ. 1581 เมื่อพระชนม์ได้ 87 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระสนมฮีบิน ตระกูลฮง · ดูเพิ่มเติม »

พระสนมคย็องบิน

พระสนมเอกคย็องบิน ตระกูลปาร์ค (2035-2076) เป็นพระสนมเอกในพระเจ้าจุงจง ทรงเป็นธิดาบุญธรรมของใต้เท้าพัก ว็อน-จง และเข้าวังมาในปีเพียวอิน หลังจากเข้าวังมาพระนางได้ให้การประสูติองค์ชายพกซอง ซึ่งเป็นโอรสองค์โตของพระเจ้าจุงจง หลังจากนั้นพระนางก็ทรงรวบรวมอำนาจจากบรรดาเหล่าขุนนาง ได้แก่ใต้เท้านัมคุนและใต้เท้าฮาชอง นับว่าพระนางทรงเป็นผู้ที่มีอิทธิพลในวังเป็นอย่างมากในยุคนั้น ซ้ำยังเป็นสนมเอกที่กล้าท้าทายอำนาจของ พระมเหสีมุนจอง อย่างไม่เกรงกลัว ภายหลังใต้เท้านัมคุนได้ขึ้นเป็นมหาเสนาบดี พระนางก็ทรงมีอำนาจในวังมากขึ้น แต่สุดท้ายในปีที่ 22 ในรัชสมัยของพระเจ้าจุงจง พระนางถูกใส่ร้ายด้วยเรื่องคดีหนูตายที่สาปแช่งรัชทายาทในวันครบรอบวันประสูติจนเป็นเหตุให้ต้องถูกปลดเป็นสามัญชนรวมทั้งองค์ชายพกซองและถูกขับออกจากวังหลวง หลังจากนั้นก็มีคดีหน้ากากข่มขวัญขึ้นซึ่งมียุนนิมเป็นคนสนับสนุนให้พระสนมฮีพินนำหน้ากากไปแขวนไว้ในวังหลวง ผู้คนจึงเชื่อกันว่ายังมีผู้ที่จงรักภักดีต่อนางที่ทำเรื่องเช่นนี้ขึ้น เหล่าขุนนาง-พระมเหสี-พระพันปีและเหล่าสนมเอกจึงช่วยทูลขอให้พระเจ้าจุงจงทรงประหารพระสนมยองพินและองค์ชายพกซองถึง 19 ครั้งแต่ยังไม่ทรงประหาร แต่สุดท้ายก็ถูกประหารด้วยยาพิษ หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน หมวดหมู่:ตัวละครในบัลลังก์จอมนาง.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระสนมคย็องบิน · ดูเพิ่มเติม »

พระนางช็องฮย็อน

ระมเหสีจองฮย็อน 貞顯王后..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระนางช็องฮย็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระนางมุนจ็อง

ระนางมุนจ็อง (문정왕후, 文定王后) (2 ธันวาคม พ.ศ. 2044–5 พฤษภาคม พ.ศ. 2108) เป็นพระมเหสีองค์ที่ 3 ของพระเจ้าจุงจงแห่งราชวงศ์โชซ็อน พระนางมุนจ็องเป็นธิดา ของใต้เท้า ยุน จี เม แห่งตระกูล ยุน (ฝ่ายเล็ก) พระนางมุนจ็องเป็นผู้สำเร็จราชการแทน หรือ ว่าราชการหลังม่านให้กับโอรส คือพระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน เมื่อพระเจ้ามย็องจงยังทรงพระเยาว์ในการปกครองบ้านเมืองด้วยตนเองจนถึงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระนางมุนจ็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระนางทันกย็อง

ระมเหสีทันกยอง (Queen Dangyeong; 7 กุมภาพันธ์ 2030 – 27 ธันวาคม 2100) พระมเหสีองค์แรกใน พระเจ้าจุงจง พระราชาลำดับที่ 11 แห่งราชวงศ์โชซ็อนเป็นธิดาของ ชินซูกึน อดีตราชเลขาในรัชสมัย เจ้าชายย็อนซัน พระราชาลำดับที่ 10 ซึ่งถูกสังหารในเหตุการณ์ รัฐประหารพระเจ้าจุงจง เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระนางทันกย็อง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามย็องจง

ระเจ้าเมียงจง (Myeongjong) สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระเจ้ามย็องจง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้ามยองจง เป็นประมุขราชวงศ์โชซอนองค์ที่ 13 (พ.ศ. 2088 ถึง พ.ศ. 2110) หรือ องค์ชายเคียงวอน เป็นโอรสของพระเจ้าจุงจงกับมเหสีมุนจอง ขึ้นครองราชย์เมื่อพระชนมายุ 11 พรรษา ต่อจากพระเชษฐาต่างมารดา คือ พระเจ้าอินจง ที่สิ้นพระชนม์ไปด้วยพระสุขภาพไม่สู้จะดีในพ.ศ. 2088 มีพระมารดาคือ พระพันปีมุนจอง สำเร็จราชการแทน พระเจ้ามยองจงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระเจ้ามย็องจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน

ระเจ้าย็องโจ (ค.ศ. 1694 - ค.ศ. 1776) ทรงเป็นกษัตริย์ลำดับที่ 21 แห่งราชวงศ์โชซ็อน (ค.ศ. 1724 - ค.ศ. 1776) พระเจ้าย็องโจทรงปฏิรูปการปกครองบ้านเมืองหลายประการ ทรงเป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ได้รับยกย่องที่สุดแห่งราชวงศ์โชซ็อน คู่กับพระนัดดา คือ พระเจ้าช็องโจแห่งโชซ็อน พระเจ้าย็องโจทรงเป็นกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ยาวที่สุดของราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระเจ้าย็องโจแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอินจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้าอินจง (ค.ศ. 1515 - ค.ศ. 1545) เป็นกษัตริย์องค์ที่ 12 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1544 - ค.ศ. 1545) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระเจ้าอินจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็องจงแห่งโชซ็อน

ระเจ้าซ็องจง (ค.ศ. 1457 - ค.ศ. 1494) เป็นกษัตริย์ลำดับที่ 9 ของราชวงศ์โจซ็อน (ค.ศ. 1469 - 1494) พระเจ้าซ็องจง มีพระนามเดิมคือ องค์ชายจาซาน (자산군, 者山君) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและพระเจ้าซ็องจงแห่งโชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารพระเจ้าจุงจง

รัฐประหารพระเจ้าจุงจง เป็นเหตุการณ์ที่ได้ถูกบันทึกไว้ในพงศาวดารราชวงศ์โชซอน ว่าเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน ค.ศ. 1505 เป็นเหตุการณ์รัฐประหารที่สำคัญที่สุดในราชวงศ์โชซอน.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและรัฐประหารพระเจ้าจุงจง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โชซ็อน

ราชวงศ์โชซอน (Joseon Dynasty) หรือ ราชวงศ์อี ที่สถาปนาขึ้นภายหลังการยกสถานะของอาณาจักรโชซอนเป็นจักรวรรดิโชซอนตามพระบรมราชโองการของจักรพรรดิควังมูแห่งจักรวรรดิโชซอน (จักรพรรดิโคจง) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองคาบสมุทรเกาหลีในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและราชวงศ์โชซ็อน · ดูเพิ่มเติม »

ลีเยินเซ็ง

พระสนมลีซุกวอน พระสนมแห่งราชวงศ์โชซอน ในพระเจ้าจุงจง พระนามของท่านถูกตีแผ่ในภาพยนตร์เรื่อง แดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง โดยมีปาร์คอึนเฮ รับบทเป็นพระสนมลีซุกวอน ก่อนได้รับการเลื่อนตำแหน่ง พระองค์เป็นนางในในห้องเครื่องและยังเป็นเพื่อนสนิทที่สุดของ หมอหญิงซอจังกึม (ต่อมาได้รับตำแหน่งขุนนางขั้น 3 เป็นหมอหญิงประจำพระเจ้าจุงจงและเป็นหมอหญิงคนแรกที่ถวายการรักษาต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์โชซอน) นางได้พบกับสุนัขตัวหนึ่งซึ่งเมืองต้าหมิงหรือจีนถวายเป็นเครื่องบรรณาการแด่พระเจ้าจุงจงเลยเป็นเหตุให้เกิดรักแรกพบ ในคืนต่อมานางได้รับการถวายตัวเป็น ซังกุงพิเศษ ลีซังกุงและภายหลังมีประสูติกาลองค์หญิงเลยได้รับการเลื่อนขั้นเป็น พระสนมซุกวอน พระนางมีไม่มีพระโอรส มีพระธิดาสองพระองค์คือ องค์หญิงจองซุนและองค์หญิงฮโยจอง หมวดหมู่:ตัวละครในแดจังกึม จอมนางแห่งวังหลวง.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและลีเยินเซ็ง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายพกซ็อง

องค์ชายพกซอง (ค.ศ. 1509-1533) พระราชโอรสองค์ใหญ่ของ พระเจ้าจุงจง ที่ประสูติแต่ พระสนมคยองพิน สิ้นพระชนม์เพราะถูกปรักปรำ.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและเจ้าชายพกซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายย็อนซัน

้าชายย็อนซัน (ค.ศ. 1476 - ค.ศ. 1506) เป็นประมุของค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์โชซอน (ค.ศ. 1494 - ค.ศ. 1506) ทรงได้ชื่อว่าเป็นกษัตริย์เกาหลีที่อื้อฉาวที่สุด รัชสมัยของพระองค์มีแต่ความวุ่นวาย จนทรงถูกกระทำรัฐประหารยึดอำนาจใน..

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและเจ้าชายย็อนซัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายท็อกฮึง

องค์ชายท็อกฮึง (ค.ศ. 1530-1559) เป็นพระราชโอรสใน พระเจ้าจุงจง ที่ประสูติแต่ พระสนมชางบิน ตระกูลอัน และเป็นพระราชบิดาใน พระเจ้าซอนโจ องค์ชายท็อกฮึง ประสูติเมื่อวันที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 1530 เนื่องจากพระมารดาของพระองค์เป็นพระสนมที่ไม่มีขุนนางสนับสนุนจึงทำให้พระองค์เป็นองค์ชายที่ไม่ค่อยมีใครสนใจและห่างไกลจากราชสมบัติต่อมาทรงอภิเษกและออกไปใช้พระชนม์ชีพนอกวังหลวงจนมีโอรสธิดาซึ่งหนึ่งในนั้นคือองค์ชายฮาชองซึ่งในเวลาต่อมาคือ พระเจ้าซอนโจ องค์ชายท็อกฮึง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1559 ขณะพระชนม์เพียง 29 พรรษา หมวดหมู่:บุคคลในยุคราชวงศ์โชซ็อน.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและเจ้าชายท็อกฮึง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฮโยฮเย

องค์หญิงฮโยฮเย (13 มิถุนายน ค.ศ. 1511 – 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1531) พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ใน พระเจ้าจุงจง ที่ประสูติแต่ พระมเหสีชางกยอง ประสูติเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1511 มีพระอนุชาร่วมอุทรคือ องค์ชายลีโฮ ต่อมาอภิเษกกับ คิมฮี นายกองวังหลวงบุตรชายของ คิม อันโล ขุนนางผู้ใหญ่ ซึ่งในซีรีส์เรื่อง บัลลังก์จอมนาง ผู้เขียนบทได้เชื่อมโยงองค์หญิงฮโยฮเยกับเหตุการณ์สาปแช่งรัชทายาทลีโฮด้วยหนูตายโดยให้องค์หญิงเป็นผู้นำหนูตายไปแขวนในตำหนักรัชทายาท สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1531 ขณะพระชนม์เพียง 19 พรรษ.

ใหม่!!: พระเจ้าจุงจงและเจ้าหญิงฮโยฮเย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

องค์ชายจินซอง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »