โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ดัชนี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ตราประจำพระองค์ พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช เมื่อประสูติมีพระนามว่า พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าชายศุขสวัสดี เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 23 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาจันทร์ เมื่อวันศุกร์ เดือน 4 ขึ้น 9 ค่ำ ปีเถาะสัปตศก..

39 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2398พ.ศ. 2414พ.ศ. 2416พ.ศ. 2419พ.ศ. 2430พ.ศ. 2431พ.ศ. 2433พ.ศ. 2435พ.ศ. 2455พ.ศ. 2456พ.ศ. 2460พ.ศ. 2462พ.ศ. 2463พ.ศ. 2468พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระตำหนักสวนกุหลาบกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์กองทัพบกฐานันดรศักดิ์ไทยราชวงศ์จักรีวังท้ายวัดพระเชตุพนหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิหม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิทหารม้าปฐมจุลจอมเกล้าเหรียญรัตนาภรณ์เหรียญจักรพรรดิมาลาเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์15 มีนาคม16 เมษายน

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2414 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2416 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2419

ทธศักราช 2419 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1876.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2419 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2430 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2431

ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2431 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2433

ทธศักราช 2433 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1890 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2433 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2435

ทธศักราช 2435 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1892 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2435 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2456 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2463

ทธศักราช 2463 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1920 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2463 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 มกราคม พ.ศ. 2423 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 6 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น 2 ค่ำ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ เป็นพระธิดาใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช ที่ประสูติแต่หม่อมชุ่ม เมื่อวันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้า เมื่อพระชันษาได้ 3 ชันษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระนาม ว่า “มนัศสวาสดิ์” พ.ศ. 2430 เมื่อพระชนมายุครบเกณฑ์เกศากันต์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โดยเสด็จเข้าในพระราชพิธีโสกันต์ พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าหญิงภัทรายุวดี มีขบวนแห่รอบใน และได้ทรงสวมพระชฎาพระราชทานเป็นเกียรติยศในวันสมโภช เมื่อเกศากันต์แล้ว ได้เข้ารับราชการในพระราชสำนักสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2436 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าฝ่ายใน โดยสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถทรงดำรงตำแหน่งมหาสวามินีแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดังกล่าว จึงโปรดเกล้าฯ ให้หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์เข้าเป็นพนักงานสำหรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ด้วยพระองค์หนึ่ง พ.ศ. 2443 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้รับราชการเป็นพระอภิบาล ใน สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ฯ โดยได้ปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวจนสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอฯ ทรงเจริญวัย สำเร็จการศึกษากลับจากต่างประเทศ ดำรงพระอิสริยยศ เป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เสด็จออกวังประทับนอกพระบรมมหาราชวัง หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์ก็ตามเสด็จไปประทับอยู่ด้วย เพื่อถวายงานดูแลกิจการในวัง แม้เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมนเทียรเป็น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แล้ว หม่อมเจ้าหญิงมนัศสวาสดิ์ก็ยังทรงอยู่ถวายงานมิได้ขาด โดยเฉพาะการควบคุมห้องเครื่องต้น ซึ่งเป็นหน้าที่ที่ทรงทำตลอดรัชกาล พ.ศ. 2472 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ที่จะทรงทดแทนคุณูปการซึ่งได้มีมาแต่พระองค์ในหนหลัง กับทั้งให้เป็นที่เชิดชูพระเกียรติยศแด่ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระบรมราชโองการฯ ดำรัสสั่งให้สถาปนาหม่อมเจ้ามนัศสวาสดิ์ ศุขสวัสดิ ขึ้นเป็นพระองค์เจ้า มีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฎ ว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ วรรคอุตสาห ทรงศักดินา 3,000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า นั้น โดยที่ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ มีพระหฤทัยมั่นคงที่จะปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณโดยมิได้คลาดคลาย มุ่งหมายเพื่อให้ทรงพระเกษมสุขสถาพรเป็นที่ตั้ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระเมตตารับอุปการะโดยประการต่าง ๆ อาทิ ให้สร้างวังพระราชทานบนที่ดินของกรมพระคลังข้างที่ ที่ถนนพระอาทิตย์ ซึ่งปัจจุบันคือ ที่ทำการของ พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ทรงให้จ่ายเงินพระคลังข้างที่สมทบบัญชีเงินพระราชานุเคราะห์ เพื่อจ่ายผลประโยชน์พระราชทานเป็นรายเดือนให้จนตลอดพระชนมายุ และอื่น ๆ เป็นต้น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ ประชวรด้วยพระโรคชรา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 สิริพระชนมายุได้ 76 พรรษา สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทานในสัตตมวารแรก และมีพิธีออกเมรุพระศพเมื่อวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามนัศสวาสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักสวนกุหลาบ

ระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง พระตำหนักสวนกุหลาบ เป็นพระตำหนักที่ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอกของพระบรมมหาราชวัง เป็นพระตำหนักที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวขณะทรงดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ พระตำหนักนี้สร้างขึ้นในบริเวณสวนกุหลาบซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้ปลูกดอกกุหลาบไว้ เมื่อครั้งขยายอาณาเขตพระบรมมหาราชวังไปทางด้านทิศใต้จรดถนนท้ายวังริมวัดพระเชตุพน ในรัชกาลต่อมาได้มีการสร้างคลังศุภรัตน์ในบริเวณนี้เพื่อใช้เก็บสบงจีวรของหลวง โดยสร้างเป็นตึกเก๋งจีนตามความนิยมในสมัยนั้น ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขคลังศุภรัตน์เป็นพระตำหนักสวนกุหลาบและพระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระราชโอรส เมื่อสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ กรมขุนพินิตประชานาถเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เป็น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และต่อมาเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งเป็นที่ฝึกหัดราชการของบุคคลในราชสกุลและบุตรหลานข้าราชการเพื่อเป็นทหารมหาดเล็ก และเป็นโรงเรียนสอบวิชาข้าราชการพลเรือนในเวลาต่อมา จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๔๑ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบจึงย้ายไปตั้งที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ปัจจุบันพระตำหนักสวนกุหลาบเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีโปรดเกล้าฯ ให้ฟื้นฟูโรงเรียนขึ้นใหม่ เมื่อ..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและพระตำหนักสวนกุหลาบ · ดูเพิ่มเติม »

กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์

กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ (อักษรย่อ: ร.1 รอ.) มีชื่อเต็มว่า กรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหน่วยทหารรักษาพระองค์ที่ตั้งขึ้นหน่วยแรกสุดของประเทศไทย มีหน้าที่ถวายความปลอดภัยและถวายพระเกียรติแด่พระมหากษัตริย์, สมเด็จพระราชินี, พระรัชทายาท, ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์อย่างใกล้.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์

กรมทหารราบที่ ๑๑ รักษาพระองค์ (อักษรย่อ: ร.๑๑ รอ.) หรือที่นิยมเรียกกันโดยทั่วไปว่า ราบ ๑๑ เป็นหน่วยทหารสืบเนื่องมาแต่โบราณ เดิมคือผู้มีหน้าที่รักษาการณ์ในวัง รัชกาลที่ ๔ ให้ฝึกวิชาทหารเพื่อที่จะทำหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น และตั้งเป็นกองทหารรักษาพระบรมมหาราชวัง หรือกองทหารล้อมวัง เครื่องแบบเต็มยศสีน้ำเงินก็น่าจะมาจากสีของเครื่องแบบกรมวัง, ฝ่ายรักษาวัง รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าให้ รัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งสถาปนาเป็นสยามมกุฏราชกุมาร เป็นพันเอกพิเศษ ของกรมทหารล้อมวังนี้ ซึ่งทำให้หน่วย ร.๑๑ รอ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบก

กองทัพบก คือกองกำลังทหารที่ปฏิบัติการในภาคพื้นดินเป็นหลัก มีหน้าที่ป้องกันและปฏิบัติการรบในภาคพื้นดิน กองทัพบกนับเป็นกองกำลังทหารที่กำเนิดขึ้นเป็นประเภทแรก หน่วยรบหลักในกองทัพบกแบ่งออกเป็น 3 เหล่าคือ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและกองทัพบก · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรศักดิ์ไทย

ในประเทศไทยมี "ฐานันดรศักดิ์" หลายประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและฐานันดรศักดิ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

วังท้ายวัดพระเชตุพน

วังท้ายวัดพระเชตุพน เป็นกลุ่มวังที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ใกล้กับวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ใกล้ปากคลองตลาด ต่อมาจากวังท้ายหับเผย วังท้ายวัดพระเชตุพน ประกอบด้วย วัง 5 วัง คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและวังท้ายวัดพระเชตุพน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา

หม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม: วสุวัต; 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2438 – 30 กันยายน พ.ศ. 2534) เป็นครู และนักเขียน มีผลงานเรื่องสั้น และนวนิยาย เจ้าของนามปากกา "วรรณสิริ" ผู้เขียน วนิดา, นางทาส และนางครวญ ที่ได้รับความนิยม มีผู้นำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์หลายครั้ง.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและหม่อมผิว สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิ

หม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิ (ดิศกุล; 24 ธันวาคม 2460) เป็นพระธิดาในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ กับหม่อมแสง ดิศกุล ณ อยุธยา เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ลำดับที่ 15 ในลำดับโปเจียมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและหม่อมเจ้ากฤษณาพักตรพิมล ศุขสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ

หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ (22 มิถุนายน พ.ศ. 2447 - 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช ที่ประสูติแต่หม่อมเขียน ศุขสวัสดิ ณ อยุธยา หม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ประสูติวันพุธที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและหม่อมเจ้าวรศักดิเดชอุดม ศุขสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

ทหารม้า

ทหารม้าโปแลนด์ (Polish cavalry) ในปี 1938 ทหารม้าบนรถถัง ทหารม้า (Cavalry) หมายถึง ทหารที่จะต้องทำการรบ โดยใช้อาวุธต่างๆ เช่น ดาบ, ทวน หรือปืน บนหลังม้า แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนมาเป็นใช้รถถังและพาหนะเคลื่อนที่เร็วแทน ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอื่นๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่ารบที่มีความสำคัญและจำเป็นเหล่าหนึ่งสำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารราบ ทหารปืนใหญ่ ทหารช่าง ฯลฯ มีความแตกต่างกับ ทหารราบขี่ม้า (Light Horse) ทหารราบบรรทุกม้าหรือยานพาหนะใดๆ ก็ตาม จะใช้ม้าหรือยานพาหนะที่ว่าในการเดินทางเข้า-ออกสนามรบเท่านั้นในกรณีปกติ เครื่องหมายเหล่าเป็นรูปกระบี่ไขว้ประกอบกับเกือกม้าและรถถัง นอกจากนี้ เฮลิคอปเตอร์เอง ก็ถูกจัดว่าเป็นหน่วยทหารม้าเช่นกัน.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและทหารม้า · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญรัตนาภรณ์

หรียญรัตนาภรณ์ เป็นเหรียญราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2412 โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สำหรับพระราชทานผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ทั้งส่วนราชการและส่วนพระองค์ เดิมชื่อ เหรียญรจนาภรณ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นเหรียญรัตนาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2416 เหรียญรัตนาภรณ์ มีลำดับชั้นทั้งหมด 5ชั้น มีหลักเกณฑ์ในการรับพระราชทานดังนี้ ชั้นที่ 1และ 2 มักจะพระราชทานให้ พระราชวงศ์, ขุนนางข้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิดและทรงสนิทสนมเป็นพิเศษ, นายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, ประธานองคมนตรี, องคมนตรี ฯลฯ ชั้นที่ 3 และ 4 พระราชทานให้ ขุนนางช้าราชการชั้นสูงที่ถวายงานใกล้ชิด, ข้าราชบริพารที่ทรงสนิทสนม, พระอนุวงศ์และราชนิกุล ฯลฯ ชั้นที่ 5 พระราชทานให้ ผู้ที่ทำความดีความชอบทั้งส่วนราชการหรือส่วนพระองค์, ผู้ที่สร้างชื่อเสียงคุณงามความดีให้กับประเทศ ฯลฯ แต่ทั้งนี้การพระราชทานขึ้นอยู่กับพระราชอัธยาศัยส่วนพระองค์ บุคคลที่มียศตำแหน่งตามที่ระบุอาจได้รับพระราชทานชั้นที่สูงหรือต่ำกว่านี้ ก็สุดแท้แต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและเหรียญรัตนาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรพรรดิมาลา

หรียญจักรพรรดิมาลา ใช้อักษรย่อว่า ร...

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและเหรียญจักรพรรดิมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาจันทร์ในรัชกาลที่ 4 เป็นบุตรีคนรองสุดท้องของพระยาพิพิธสมบัติ (ทองสุก) ผู้สำเร็จราชการเมืองตราด มีมารดาเป็นชาวจังหวัดตราด คุณตาชื่อ “หยง” เป็นจีนฮกเกี้ยนที่เข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขายที่เมืองตราด คุณยายชื่อ “อิ่ม” เป็นคนพื้นเพเมืองตราด เมื่อพระยาพิพิธสมบัติถึงแก่อนิจกรรมในตอนต้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บุตรชายคนหนึ่งของพระยาพิพิธสมบัติได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นผู้สำเร็จราชการเมืองตราดสืบต่อจากบิดา ท่านเจ้าเมืองคนใหม่นี้ภายหลังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถ” และพระยาพิพิธฤทธิเดชวิเศษสิงหนาถนี้เองที่เป็นผู้ชักชวนให้เจ้าจอมมารดาจันทร์ซึ่งขณะนั้นอยู่ในวัยรุ่นสาวมีรูปโฉมงดงามเป็นที่เลื่องลือไปทั่วเมืองตราด ให้เข้ามารับราชการสนองพระเดชพระคุณในพระบรมมหาราชวัง จนได้รับพระมหากรุณาธิคุณชุบเลี้ยงให้เป็นพระสนมเอก พระราชทานเครื่องยศพานทองคำ เครื่องใช้สอยทองคำ หีบทองลงยาราชาวดี กับได้เบี้ยหวัดเงินปี ปีละ 10 ชั่ง เจ้าจอมมารดาจันทร์ได้รับราชการสนองคุณพระกรุณา ฯ ถวายพระประสูติกาลพระเจ้าลูกเธอและพระเจ้าลูกยาเธอทั้งสิ้น 4 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและเจ้าจอมมารดาจันทร์ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ มีอักษรย่อว่า น.ร. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีความเป็นมาสืบแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างดารานพรัตนขึ้นสำหรับใช้ประดับที่เสื้อ ซึ่งทรงเรียกว่า "เครื่องประดับสำหรับยศ" นอกจากนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างแหวนนพรัตนสำหรับพระราชทานแก่พระราชวงศ์ฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ตลอดจนข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ซึ่งเป็นพุทธมามกะ ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างดวงตรามหานพรัตน สำหรับห้อยสายสะพายขึ้นเป็นครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลนี้ มีเฉพาะชั้นสายสะพายชั้นเดียว ทั้งนี้ ผู้รับพระราชทานต้องเป็นพุทธมามกะ และจะประดับเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ในงานมงคล หรืองานที่มีหมายกำหนดการระบุไว้เท่านั้นราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑๕, ตอนพิเศษ ๑๑๘ ง เล่มที่ ๒, ๔ ธันวาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า

รื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า (The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao) สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2416 ด้วยทรงเห็นว่าพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรีทรงอยู่ในราชสมบัติยั่งยืนนานมาเป็นเวลา 90 ปี ก็ด้วยความจงรักภักดีและการปฏิบัติราชการของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการทั้งปวง ทั้งมีพระราชประสงค์จะทรงชุบเลี้ยงบรรดาทายาทของบุคคลเหล่านี้ ให้มีความเจริญรุ่งเรืองในราชการสืบเนื่องต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทายาทของผู้ได้รับพระราชทานสามารถรับพระราชทานตราสืบตระกูลของบิดาได้ โดยพระราชทานนามพระองค์ "จุลจอมเกล้า" เป็นนามของเครื่องราชอิสรยาภรณ์ตระกูลนี้ พร้อมทรงคิดคำขวัญจารึกบนดวงตราว่า "เราจะบำรุงตระกูลวงศ์ให้เจริญ".

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 มีนาคม

วันที่ 15 มีนาคม เป็นวันที่ 74 ของปี (วันที่ 75 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 291 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและ15 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดชและ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระองค์เจ้าศุขสวัสดิพระองค์เจ้าศุขสวัสดิ์พระองค์เจ้าศุขสวัสดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดิ กรมหลวงอดิศรอุดมเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดิ์ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »