โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)

ดัชนี พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)

ระวิมลธรรมภาณ มีนามเดิมว่า สังเวียน บุญมาก กำเนิด ณ บ้านหมู่ที่ 8 ตำบลบ้านแก่ง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2464 ตรงกับวันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 12 ปีระกา โยมบิดาชื่อ กริ่ม บุญมาก โยมมารดาชื่อ พริ้ง บุญมาก มีพี่น้องรวมด้วยกัน 6 คน คือ 1.

10 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2464พ.ศ. 2484พ.ศ. 2536พ.ศ. 2537พระวินยาธิการกรุงเทพมหานครธรรมยุติกนิกายเกจิอาจารย์10 กุมภาพันธ์9 พฤศจิกายน

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2536

ทธศักราช 2536 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1993 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และพ.ศ. 2536 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2537

ทธศักราช 2537 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1994 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และพ.ศ. 2537 · ดูเพิ่มเติม »

พระวินยาธิการ

วินยาธิการ /วินะยาทิกาน/ (วินย + อธิ + การ, แปล "เจ้าการพระวินัย") หรือภาษาปากว่า ตำรวจพระ หมายถึง พระภิกษุชาวไทยผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระวินัย เรียกเต็มว่า "พระวินยาธิการ" พระวินยาธิการเป็นคำใหม่ที่ใช้เรียกพระภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดให้มีหน้าที่ช่วยเหลือด้านการปกครองคณะสงฆ์ในจังหวัด โดยเฉพาะหน้าที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยด้านการปฏิบัติวินัยของพระภิกษุสามเณร พระวินยาธิการมีหน้าที่ตรวจตรา แนะนำ ตักเตือน และชี้แจงระเบียบปฏิบัติแก่พระภิกษุสามเณรในจังหวัดหรือที่เข้ามาในจังหวัด บรรดาที่ประพฤติไม่เรียบร้อย และหากไม่ปฏิบัติตามหรือพบการกระทำความผิดก็มีอำนาจจับกุมตัวส่งเจ้าคณะผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่บ้านเมืองให้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ แต่ไม่มีอำนาจในการให้สละสมณเพศ ปัจจุบัน พระวินยาธิการเป็นตำแหน่งที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับ ทำให้การปฏิบัติหน้าเป็นไปอย่างติด ๆ ขัด ๆ พระรัตนเมธี เจ้าอาวาสวัดแก้วฟ้าจุฬามณี และเจ้าคณะเขตบางซื่อ ในฐานะหัวหน้าพระวินยาธิการเขตกรุงเทพมหานคร กล่าวเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2552 ว่า "การทำงานของพระวินยาธิการขณะนี้ ถือว่าลำบาก เพราะเป็นตำแหน่งที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับ จะดำเนินการอะไรกับพระที่ทำผิดพระธรรมวินัยไม่มีอำนาจในการลงโทษ เมื่อพบพระที่ทำความผิดก็ต้องพาไปให้เจ้าคณะผู้ปกครองในท้องที่นั้น ๆ วินิจฉัยลงโทษ รวมทั้งต้องอาศัยความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจด้วย" อย่างไรก็ดี หัวหน้าพระวินยาธิการเขตกรุงเทพมหานครเปิดเผยว่า กำลังมีการเสนอร่างพระราชบัญญัติอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา โดยจะมีการกำหนดสถานะของพระวินยาธิการ ซึ่งจะทำให้มีกฎหมายรองรับและจะมีการออกกฎหมายลูกตามมาอีก โดยอาจจะกำหนดให้พระวินยาธิการมีอำนาจในการวินิจฉัยตัดสินใจลงโทษได้เลย ทำให้มีความรวดเร็วในการทำงาน รวมทั้งจะต้องมีการออกระเบียบการแต่งตั้งพระวินยาธิการให้มีคุณสมบัติเป็นพระสังฆาธิการด้วย เพื่อความสะดวกในการวินิจฉัยลงโทษ และจะทำให้รูปแบบของพระวินยาธิการเป็นในลักษณะเดียวกันทั่วประเทศ ผิดกับปัจจุบันที่ยังเป็นในลักษณะต่างคนต่างทำอยู่ อนึ่ง หนังสือพิมพ์ไทยรัฐยังมีการรายงานว่า ปัญหาของพระวินยาธิการไม่ใช่แต่เพียงเท่านั้น เพราะยังพบว่าบางเขตมีจำนวนพระวินยาธิการมากเกินความจำเป็น ซึ่งพระวินยาธิการบางท้องที่ก็ไม่ยอมทำงาน แต่ที่เป็นพระวินยาธิการเพื่อต้องการอวดพระด้วยกันรวมทั้งจะเอาบัตรประจำตัวพระวินยาธิการไปอวดญาติด้ว.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และพระวินยาธิการ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

เกจิอาจารย์

กจิอาจารย์ แปลว่า อาจารย์บางพวก หลังพระโคตมพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว สาวกของพระองค์ได้รวบรวมคำสอนของพระองค์ไว้เป็นหมวดหมู่ เรียกว่าพระไตรปิฎก ต่อมามีภิกษุผู้เป็นนักปราชญ์ได้แต่งอรรถกถาและฎีกาเพื่ออธิบายข้อความในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้น เรียกภิกษุผู้แต่งหนังสือนั้นว่า พระอรรถกถาจารย์ และ พระฎีกาจารย์ และในหนังสือที่แต่งนั้นมักจะมีอ้ างถึงความคิดเห็นของอาจารย์พวกอื่น ๆ ที่เห็นด้วยหรือเห็นแย้งกับผู้แต่ง จึงเรียกอาจารย์ที่ถูกอ้างถึงนั้นว่า เกจิอาจารย์ เกจิอาจารย์ ในปัจจุบันถูกใช้ในความหมายที่ผิดไปจากเดิม คือใช้เรียกภิกษุที่เชื่อกันว่ามีความรู้ความสามารถในด้านคาถาอาคมและการปลุกเสกเครื่องรางของขลัง หรือเรียกสั้นๆ ว่า พระเก.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และเกจิอาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

10 กุมภาพันธ์

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 41 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 324 วันในปีนั้น (325 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และ10 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระวิมลธรรมภาณ (วิเวียร ฐิตปุญฺโญ)และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

หลวงปู่วิเวียร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »