โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระยายมราช (แก้ความกำกวม)

ดัชนี พระยายมราช (แก้ความกำกวม)

ระยายมราช สามารถหมายถึง.

9 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระยมพระยายมราช (หมัด)รัฐมนตรีสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทสมเด็จพระนารายณ์มหาราชอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรธนบุรีเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน)

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระยม

ระยม พระยมราช หรือ มัจจุราช คือเทพเจ้าแห่งนรกและความตาย ตามความเชื่อในศาสนาแบบอินเดี.

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และพระยม · ดูเพิ่มเติม »

พระยายมราช (หมัด)

ระยายมราช (หมัด) หรือ จุ้ย หรือบ้างก็เรียกว่า "พระยายมราชแขก" เป็นบุตรของ'''เจ้าพระยาจักรี (หมุด)''' เกิดเมื่อปีใดไม่ปรากฏ ได้เข้ารับราชการในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีพร้อมบิดา ถูกประหารชีวิตในปลายรัชกาลซึ่งเป็นช่วงที่เชื่อกันว่าสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงเสียพระสต.

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และพระยายมราช (หมัด) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรี

รัฐมนตรี คือผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการและรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง ในอดีต รัฐมนตรี เป็นที่ปรึกษาราชการบ้านเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และรัฐมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

มเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท หรือ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิม บุญมา เป็นพระราชอนุชาร่วมพระราชชนกชนนีกับพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นพระโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) และพระอัครชายา (หยก) ประสูติในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดีขึ้น 1 ค่ำ เดือน 11 ปีกุน..

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรธนบุรี

อาณาจักรธนบุรี เป็นอาณาจักรที่มีระยะเวลาสั้นที่สุดของไทย คือระหว่าง..

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และอาณาจักรธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน)

้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) หรือ พระยายมราช (แบน) เป็นแม่ทัพคนหนึ่งในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เมื่อรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้มีพระบรมราชโองการสั่งยกทัพไปช่วยเขมรเพื่อป้องกันการรุกรานจากญวน โดย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสรยศเป็น เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นแม่ทัพใหญ่ ซึ่งได้ขอตัวพระยายมราช (แบน) ไปด้วย ด้วยเป็นนายทหารฝีมือดี เมื่อเสด็จนำกองทัพไปถึงเมืองกัมพูชาแล้ว พระยาสรรค์ก่อกบฏขึ้นในกรุงธนบุรี เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกต้องรีบนำทัพกลับเพื่อจัดการกบฏ แต่ทางกัมพูชานี้ได้ทิ้งไว้ให้พระยายมราช (แบน) เป็นผู้ดูแล ไม่นานนัก เมื่อเสด็จมาถึงและได้ปราบดาภิเษกเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าแล้ว ส่วนพระยายมราช (แบน) ก็ติดราชการอยู่ที่เมืองกัมพูชาอยู่ ต่อมา นักองค์เอง เจ้านายฝ่ายเขมร ในเวลานั้นอายุเพียง ๕ ขวบ เป็นผู้มีสิทธิ์ขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติเขมร พระยายมราช (แบน) คิดว่าหากปล่อยไว้คงเกิดการฆ่าฟันขึ้นอีก จึงให้พระยาเขมรและขุนนางฝ่ายไทยคุมตัวนักองค์เองขึ้นมาทูลเกล้าฯถวายแด่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าที่กรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าก็ได้ทรงรับนักองค์เองเป็นราชบุตรบุญธรรม แล้วมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้เลื่อนยศของพระยายมราช (แบน) เป็น เจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) ได้เป็นผู้ปกครองเขมร และถิอเป็นต้นตระกูล "อภัยวงศ์" และเมื่อถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตระกูลอภัยวงศ์ต่อว่า ได้ปกครองเมืองในประเทศกัมพูชาเรื่อยมา โดยมีเจ้าเมืองผู้ปกครองพระตะบองคนสุดท้าย คือ เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (ชุ่ม อภัยวงศ์) ตอนนั้นยังไม่มีนามสกุล โดยในช่วงกลางสมัยรัชกาล ฝรั่งเศสได้เข้ามายึดประเทศกัมพูชา แล้วเรียกร้องให้ไทยคืนดินแดนที่ไทยได้มาจากกัมพูชาให้แก่กัมพูชาเสีย ซึ่งความจริง คือ ให้แก่ฝรั่งเศสเพราะฝรั่งเศสเข้ามาปกครองกัมพูชา ในที่สุดไทยต้องยอมเสียพระตะบอง, เสียมราฐ และศรีโสภณ ให้กับฝรั่งเศส ทำให้คนไทยที่อยู่ที่นั่นจำนวนมาก ต้องเลือกว่าจะอยู่หรือจะกลับ ถ้าอยู่ก็ต้องเป็นพลเมืองชั้นสอง เพราะไม่ได้อยู่ภายใต้พระบรมโพธิสมภารของพระมหากษัตริย์ไทยอีกต่อไปแล้ว เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์จึงได้ตัดสินใจอพยพครอบครัว พาลูกเมีย ขนของด้วยเกวียนเป็นร้อย ๆ เล่ม ช้าง, ม้าอีกมากมาย เดินทางรอนแรมผ่านป่าทึบมาหลายวัน จากพระตะบองกลับประเทศไทย โดยเดินทางเข้าทางเมืองปราจีนบุรี จึงได้พักผู้คนบริวารและพาหนะที่นี่ ไม่ได้พาเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯ เพราะที่กรุงเทพฯไม่มีราชการอะไรที่จะต้องเข้าไป ทั้ง ๆ ที่ตัวท่านก็มีบ้านอยู่ที่กรุงเทพฯ แถวสะพานยศเส ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เดิม จากนั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสเมืองปราจีนบุรี เจ้าพระยาอภัยภูเบศร์เห็นว่า ในการเสด็จครั้งนั้นไม่มีสถานที่เหมาะสมที่จะใช้ รับเสด็จ จึงได้สร้างตึกใหญ่ขึ้นภายในบริเวณหมู่เรือนที่พักของท่านขึ้น ซึ่งปัจจุบันคือ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร มาในปี..

ใหม่!!: พระยายมราช (แก้ความกำกวม)และเจ้าพระยาอภัยภูเบศร (แบน) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พระยายมราช

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »