เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ดัชนี พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថមុនីវង្ស) เอกสารไทยในบางแห่งเรียกว่า สมเด็จพระศรีสวัสดิ์มณีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมี่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.

สารบัญ

  1. 27 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2414พ.ศ. 2470พ.ศ. 2471พ.ศ. 2484พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตารพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนาพระตะบองพนมเปญกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศสเขตวีชีภาษาฝรั่งเศสรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชาศรีโสภณสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ ชีวันมุนีรักษ์สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศสมเด็จกรมหลวงสีสุวัตถิ์ มุนีพงศ์หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณประเทศกัมพูชานครวัดนโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวีแพน เรืองนนท์เสียมราฐ21 ธันวาคม24 เมษายน9 สิงหาคม

  2. บุคคลจากพนมเปญ
  3. พุทธศาสนิกชนชาวกัมพูชา
  4. ราชสกุลสีสุวัตถิ์

พ.ศ. 2414

ทธศักราช 2414 ตรงกั.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพ.ศ. 2414

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพ.ศ. 2470

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพ.ศ. 2471

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพ.ศ. 2484

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

ระบาทสมเด็จพระนโรดม (ព្រះបាទនរោត្តម, พฺระบาทนโรตฺตม "พระบาทนโรดม") หรือ สมเด็จพระนโรดมพรหมบริรักษ์ หรือ นักองค์ราชาวดี (អង្គ រាជាវតី, องคฺราชาวดี "องค์ราชาวดี") เสด็จพระราชสมภพเมี่อ15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา

ระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา (ស៊ីសុវត្ថិមុនីវង្ស កុសុមៈនារីរ័ត្នសេរីវឌ្ឍនា; 9 เมษายน พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา

พระตะบอง

ระตะบอง อาจหมายถึง.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพระตะบอง

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และพนมเปญ

กรณีพิพาทอินโดจีน

กรณีพิพาทอินโดจีน หรือ สงครามอินโดจีน ในต่างประเทศเรียกว่า สงครามฝรั่งเศส-ไทย เป็นการสู้รบระหว่างประเทศไทยกับฝรั่งเศสเขตวีชีเหนือดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศส จอมพล ป.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และกรณีพิพาทอินโดจีน

ฝรั่งเศสเขตวีชี

ฝรั่งเศสเขตวีชี (La France de Vichy; Vichy France) คือรัฐเฉพาะกาลที่ปกครองประชาชนชาวฝรั่งเศส โดยเป็นรัฐที่สนับสนุนนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และฝรั่งเศสเขตวีชี

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และภาษาฝรั่งเศส

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

ศรีโสภณ

รีโสภณ (សិរីសោភ័ណ) เป็นเมืองหลักของจังหวัดบันทายมีชัย ประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 2 ของประเทศกัมพูชา สถานีรถไฟศรีโสภณร้าง.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และศรีโสภณ

สมเด็จพระสีสุวัตถิ์ ชีวันมุนีรักษ์

มเด็จพระสีสุวัตถิ์ ชีวันมุนีรักษ์ (សម្ដេច​ ស៊ីសុវត្ថិ ជីវ័នមុន្នីរក្ស, Sisowath Chivan Monirak) ที่ปรึกษาในพระองค์พระมหากษัตริย์ (องคมนตรี) แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา อดีตรองประธานพฤฒสภาแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา และอดีตนักแสดงสมทบจากภาพยนตร์เรื่อง The Killing Fields (ทุ่งสังหาร).

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ ชีวันมุนีรักษ์

สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ

มเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ (Sisowath Monireth) ประสูติเมื่อ 25 พฤศจิกายน..

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และสมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ

สมเด็จกรมหลวงสีสุวัตถิ์ มุนีพงศ์

มเด็จกรมหลวงสีสุวัตถิ์ มุนีพงศ์ (25 สิงหาคม พ.ศ. 2455 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2499) เป็นพระโอรสองค์ที่ 2 ในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์กับสมเด็จพระอัครมเหสีมหากษัตรี นโรดม กาญจนวิมาน นรลักขณ์เทวี พระองค์มีบทบาททางการเมืองกัมพูชาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง และทรงเป็นนายกรัฐมนตรีกัมพูชาตั้งแต่ 30 พฤษภาคม..

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และสมเด็จกรมหลวงสีสุวัตถิ์ มุนีพงศ์

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ (26 มกราคม พ.ศ. 2473 - 16 เมษายน พ.ศ. 2556) นักเขียนนวนิยาย เรื่องสั้น และสารคดีเกี่ยวชีวิตเจ้านายในวัง เจ้าของนามปากกา "ศรีฟ้า ลดาวัลย์" "สีฟ้า" และ "จุลลดา ภักดีภูมินทร์" ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และหม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และประเทศกัมพูชา

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และนครวัด

นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี

นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี (พ.ศ. 2419 - พ.ศ. 2455) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ อภิเษกสมรสในปี พ.ศ.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และนโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี

แพน เรืองนนท์

แพน เรืองนนท์ (พ.ศ. 2457—2522) เป็นนางละครชาวไทย ซึ่งมีชื่อเสียงจากการเป็นนักแสดงละครชาตรีในห้วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และโด่งดังจากการเข้ารับราชการเป็นเจ้าจอมสีสุวัตถิ์ อำไพพงศ์ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ โดยมีข่าวลือว่าเธอเป็น "ว่าที่พระราชินีกัมพูชา" จนได้รับการเรียกขานว่าเป็น "ซินเดอเรลลาสยาม" แต่ท้ายที่สุดเธอก็ถูกส่งกลับประเทศไทยและมิได้รับราชการฝ่ายในของกัมพูชาอีกเล.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และแพน เรืองนนท์

เสียมราฐ

ียมราฐ หรือ เสียมเรียบ อาจหมายถึง.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และเสียมราฐ

21 ธันวาคม

วันที่ 21 ธันวาคม เป็นวันที่ 355 ของปี (วันที่ 356 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 10 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และ21 ธันวาคม

24 เมษายน

วันที่ 24 เมษายน เป็นวันที่ 114 ของปี (วันที่ 115 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 251 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และ24 เมษายน

9 สิงหาคม

วันที่ 9 สิงหาคม เป็นวันที่ 221 ของปี (วันที่ 222 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 144 วันในปีนั้น.

ดู พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์และ9 สิงหาคม

ดูเพิ่มเติม

บุคคลจากพนมเปญ

พุทธศาสนิกชนชาวกัมพูชา

ราชสกุลสีสุวัตถิ์

หรือที่รู้จักกันในชื่อ สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์พระกรุณา พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ พระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดีพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์พระเจ้าศรีสวัสดิ์มุนีวงศ์เจ้าสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์