โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดี

ดัชนี พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดี

ระนางราชเทวี (ရာဇဒေဝီ) เป็นพระมเหสีของพระเจ้าบุเรงนอง พระนางเป็นพระราชมารดาของพระเจ้าเชียงใหม่นรธาเมงสอ, พระนางราชธาตุกัลยาแห่งตองอู, และพระเจ้าสิริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะ พระนางยังเป็นพระภาคิไนยของพระเจ้านรปติที่ 2 แห่งอังวะ เดิมพระนางมีพระอิสริยยศเป็นพระอัครชายา แต่ต่อมาได้รับสถาปนาเป็นพระมเหสีพระองค์ที่ 3 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม..

8 ความสัมพันธ์: พระนางรัตนาเทวีแห่งตองอูพระนางราชธาตุกัลยาพระเจ้าบุเรงนองพะโคสิริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะนรธาเมงสอแคว้นเชียงใหม่เถรวาท

พระนางรัตนาเทวีแห่งตองอู

พระนางรัตนาเทวีแห่งตองอู (ရတနာ ဒေဝီ) หนึ่งในห้าพระมเหสีของ พระเจ้าเมงจีโย ปฐมกษัตริย์แห่ง ราชวงศ์ตองอู และเป็นพระมารดาของ พระนางอตุลสิริมหาราชเทวี พระอัครมเหสีใน พระเจ้าบุเรงนอง มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ขิ่นเว หมวดหมู่:ราชวงศ์ตองอู หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในคริสต์ทศวรรษ 1490.

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและพระนางรัตนาเทวีแห่งตองอู · ดูเพิ่มเติม »

พระนางราชธาตุกัลยา

ระนางราชธาตุกัลยา (ရာဇ ဓာတု ကလျာ,; 12 พฤศจิกายน 1559 – พฤศจิกายน 1603) เจ้าหญิงรัชทายาทแห่งพม่าจาก..

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและพระนางราชธาตุกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

สิริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะ

ริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะ (သီရိ သုဓမ္မ ရာဇာ,; 8 เมษายน 1561 – ประมาณ พฤษภาคม 1584) เจ้าเมือง เมาะตะมะ ระหว่าง..

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและสิริสุธรรมราชาแห่งเมาะตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นเชียงใหม่

แคว้นเชียงใหม่ เป็นอาณาจักรอันเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชวงศ์ตองอู ตั้งแต..

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและแคว้นเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เถรวาท

รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: พระนางราชเทวีแห่งหงสาวดีและเถรวาท · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Yaza Dewi of Pegu

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »