สารบัญ
7 ความสัมพันธ์: การเมืองฝ่ายขวาการเลือกตั้งทั่วไปในอินเดีย พ.ศ. 2557อโยธยาคองเกรสแห่งชาติอินเดียนเรนทระ โมทีโลกาภิวัตน์เสรีนิยมใหม่
- ฮินดูตวา
การเมืองฝ่ายขวา
ฝ่ายขวา หมายถึง กลุ่มอนุรักษนิยม เป็นกลุ่มที่มีแนวคิดว่าการปกครองโดยการกระจายอำนาจแบบเท่าเทียมจะไม่สามารถทำได้ เป็นกลุ่มที่เชื่อว่าการปกครองเป็นเรื่องของชนชั้นนำ หรืออภิสิทธิ์ชนเท่านั้น และยังเป็นพวกต่อต้านระบบคอมมิวนิสต์ เป็นแนวคิดอำนาจนิยม ซึ่งแนวคิดนี้จะตรงข้ามกับฝ่ายซ้าย แนวคิดทางเศรษฐกิจของฝ่ายขวา คือ ไม่ต้องการให้มีการตั้งสหภาพแรงงาน เพราะคิดว่าเป็นภัยทำให้แรงงานมีอำนาจต่อรองกับบริษัท ซึ่งฝ่ายขวาไม่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว โดยฝ่ายซ้าย มองว่าในการตั้งสหภาพแรงงานนั้น เป็นการสร้างเศรษฐกิจที่ทุกคนมีส่วนร่วม คำว่าฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวาในทางการเมือง เริ่มใช้มาตั้งแต่ยุคการปฏิวัติฝรั่งเศส ที่มีการแบ่งพื้นที่การนั่งประชุมในสภาสมัชชาแห่งชาติ โดยตัวแทนของกลุ่มชนชั้นกรรมกร ชาวนา ชาวไร่ จะนั่งอยู่ทางซ้ายของประธานสมัชชา และฝ่ายตัวแทนของขุนนาง ทหาร นักบวช จะนั่งทางขวามือของประธานฯ ทำให้เป็นธรรมเนียมเรียกฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา ตั้งแต่นั้นม.
ดู พรรคภารตียชนตาและการเมืองฝ่ายขวา
การเลือกตั้งทั่วไปในอินเดีย พ.ศ. 2557
การเลือกตั้งทั่วไปในอินเดี..
ดู พรรคภารตียชนตาและการเลือกตั้งทั่วไปในอินเดีย พ.ศ. 2557
อโยธยา
อโยธยา (เทวนาครี: अयोध्या, อูรดู: ایودھیا) เป็นเมืองเก่าแก่ในประเทศอินเดีย อยู่ในรัฐอุตตรประเทศ ชาวฮินดูเชื่อว่าพระรามเคยครองราชย์ที่เมืองนี้ อโยธยาตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสรยุ ทุกปีในเดือนพฤศจิกายนซึ่งเป็นเดือนประสูติของพระรามและเดือนธันวาคมซึ่งเป็นเดือนที่พระรามอภิเษกกับนางสีดาจะมีชาวฮินดูมาแสวงบุญที่อโยธยา ตามความเชื่อของชาวฮินดู อโยธยาเป็นสถานที่ประสูติของพระราม ในปีพ.ศ.
คองเกรสแห่งชาติอินเดีย
สัญลักษณ์ของพรรค คองเกรสแห่งชาติอินเดีย (भारतीय राष्ट्रीय कांग्रेस ภารตียราษฏรียกังเครส; Indian National Congress: INC) เป็นพรรคการเมืองพรรคแรกในอินเดีย สมาชิกของพรรคนี้ ได้แก่ มหาตมา คานธี, ชวาหะร์ลาล เนห์รู, อินทิรา คานธี, ราเชนทระ ปรสาท, ราชีพ คานธี, ราหุล คานธี, มันโมหัน สิงห์, ภีมราว รามชี อามเพฑกร, และ สุนีล ทัตต์ หมวดหมู่:พรรคการเมืองอินเดีย.
ดู พรรคภารตียชนตาและคองเกรสแห่งชาติอินเดีย
นเรนทระ โมที
นเรนทระ ทาโมทรทาส โมที (नरेन्द्र दामोदरदास मोदी; Narendra Damodardas Modi; เกิด 17 กันยายน 1950) เป็นนักการเมืองชาวอินเดียซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีอินเดียตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม 2014 หลังจากที่พรรคภารตียชนตา (भारतीय जनता पार्टी; Bharatiya Janata Party) ที่เขาเป็นหัวหน้า ชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อต้นปี 2014 ในเดือนตุลาคม 2001 เกศุภาอี ปเฏล (केशुभाई पटेल; Keshubhai Patel) ลาออกจากตำแหน่งมุขยมนตรี (मुख्यमंत्री; Chief Minister) คนที่ 13 แห่งรัฐคุชราต โมทีจึงได้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวมาจนลาออกไปเป็นนายกรัฐมนตรี นับได้ 4 สมัย เขาจึงเป็นมุขยมนตรีคุชราตซึ่งอยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุด โมทีเคยเป็นกุนซือคนสำคัญของพรรคภารตียชนตาซึ่งวางยุทธศาสตร์ให้พรรคสามารถชนะการเลือกตั้งระดับรัฐในปี 1995 และ 1998 ทั้งมีบทบาทหลักในการหาเสียงเลือกตั้งระดับชาติในปี 2009 ซึ่งสหพันธมิตรหัวก้าวหน้า (संयुक्त प्रगतिशील गठबंधन; United Progressive Alliance) กลุ่มการเมืองที่มีพรรคครองเกรสแห่งชาติอินเดีย (भारतीय राष्ट्रीय कांग्रेस; Indian National Congress) เป็นผู้นำ ชนะ โมทียังเป็นสมาชิกราษฏรียสวยัมเสวกสังฆ์ (राष्ट्रीय स्वयंसेवक संघ; Rashtriya Swayamsevak Sangh) กลุ่มคลั่งชาติในประเทศอินเดีย นักวิชาการและสื่อมวลชนอินเดียถือว่า เขาเป็นผู้คลั่งชาติฮินดู ซึ่งตัวเขาเองก็ยอมรับว่าเขาเป็นนักชาตินิยมฮินดู แม้โมทีได้รับคำชื่นชมเพราะนโยบายเศรษฐกิจของเขาช่วยให้คุชราตมีบรรยายที่อำนวยให้เศรษฐกิจเจริญเติบโตขึ้นอย่างมาก แต่เขาก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและในต่างแดน เกี่ยวกับการจลาจลในคุชราตเมื่อปี 2002 ระหว่างที่เขาปกครองรัฐคุชราต และความล้มเหลวในการทำให้การพัฒนามนุษย์ในรัฐบรรลุผลในทางสร้างสรร.
ดู พรรคภารตียชนตาและนเรนทระ โมที
โลกาภิวัตน์
ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
ดู พรรคภารตียชนตาและโลกาภิวัตน์
เสรีนิยมใหม่
รีนิยมใหม่ (neoliberalism) หมายถึง การกำเนิดใหม่ของความคิดที่สัมพันธ์กับเสรีนิยมทางเศรษฐกิจปล่อยให้ทำไปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เสรีนิยมใหม่ประกอบด้วยนโยบายเปิดเสรีทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง เช่น การโอนกิจการของรัฐเป็นของเอกชน การรัดเข็มขัดทางการเงิน (fiscal austerity) การลดข้อบังคับ (deregulation) การค้าเสรี และการลดรายจ่ายภาครัฐเพื่อเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนในเศรษฐกิจ นักวิชาการบางส่วนมองว่าการนำนโยบายเสรีนิยมใหม่มาใช้และการยอมรับทฤษฎีเศรษฐกิจเสรีนิยมใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 1970 เป็นเหง้าของกระบวนการเพิ่มอิทธิพลของสถาบันการเงิน (financialization) โดยมีวิกฤตการณ์การเงิน ค.ศ.
ดู พรรคภารตียชนตาและเสรีนิยมใหม่
ดูเพิ่มเติม
ฮินดูตวา
- บังกลาภูมิ
- พรรคภารตียชนตา
หรือที่รู้จักกันในชื่อ BJPBharatiya JanataBharatiya Janata Partyภารตียชนตา