โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2034

ดัชนี พ.ศ. 2034

ทธศักราช 2034 ใกล้เคียงกั.

19 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2030พ.ศ. 2031พ.ศ. 2038พ.ศ. 2072พ.ศ. 2100พญายอดเชียงรายมหาศักราชสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2อาณาจักรล้านนาอาณาจักรอยุธยาฌัก การ์ตีเยจุลศักราชปฏิทินจูเลียนปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ปีนักษัตร1 กันยายน31 ธันวาคม

พ.ศ. 2030

ทธศักราช 2030 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และพ.ศ. 2030 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2031

ทธศักราช 2031 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และพ.ศ. 2031 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2038

ทธศักราช 2038 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และพ.ศ. 2038 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2072

ทธศักราช 2072 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และพ.ศ. 2072 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2100

ทธศักราช 2100 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และพ.ศ. 2100 · ดูเพิ่มเติม »

พญายอดเชียงราย

ญายอดเชียงราย (90px) หรือ ท้าวยอดเมือง (70px) ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และพญายอดเชียงราย · ดูเพิ่มเติม »

มหาศักราช

มหาศักราช (ตัวย่อ ม.ศ.; อังกฤษ: Shalivahana era, Saka era) เป็นศักราชที่ใช้ตามปีครองราชย์ของ พระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ที่ปกครองอาณาจักรกุษาณะ หรือ พระเจ้าสลิวาหนะ ศากยะวงศ์องค์หนึ่ง ที่มีอาณาเขตยิ่งใหญ่ปกครองอาณาเขตถึงบริเวณที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ อินเดียส่วนเหนือ อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน และส่วนตะวันตกของจีน ปีมหาศักราชนั้นในหนังสือไทยจะอ้างถึงปีที่เริ่มครองราชย์คือ พ.ศ. 621 (ค.ศ. 78) ในขณะที่บันทึกต่างประเทศระบุว่าครองราชย์ในปี ค.ศ. 127 (พ.ศ. 670) ด้านสารานุกรมบริเตนนิการะบุว่าไม่ทราบปีครองราชย์ที่แน่นอน คาดว่าอยู่ในช่วง ค.ศ. 78 - 144 เมื่อมหาศักราชแพร่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้จารึกต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัยและอาณาจักรใกล้เคียงต่างใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่ คาดว่าไทยเลิกใช้มหาศักราชในปี พ.ศ. 2112 โดยเปลี่ยนไปใช้จุลศักราชแทน อย่างไรก็ตามมีการใช้มหาศักราชอยู่บ้างหลังจากนั้น ดังปรากฏในจารึกวัดไชยวัฒนาราม (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ปัจจุบันการแปลงมหาศักราช เป็นพุทธศักราช ให้นำ 621 บวกปีมหาศักราชนั้น จะได้ปีพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และมหาศักราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3

มเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า พระนามเดิมว่าพระบรมราชา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และเป็นพระเชษฐาต่างพระมารดาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แม้พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) จะระบุว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชเป็นพระองค์เดียวกับสมเด็จพระรามาธิบดี ส่วนพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระบุว่าเป็นสมเด็จพระอินทราชาธิราชที่ 2 แต่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ อธิบายว่าที่ถูกควรเรียกว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

มเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 10 แห่งอาณาจักรอยุธยา มีพระนามเดิมว่า พระเชษฐา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จพระราชสมภพที่เมืองพิษณุโลกเมื่อปีมะโรง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก การ์ตีเย

ัก การ์ตีเย ฌัก การ์ตีเย (Jacques Cartier; 31 ธันวาคม พ.ศ. 2034 - 1 กันยายน พ.ศ. 2100) นักสำรวจชาวฝรั่งเศสคนแรกที่เดินทางไปถึงทวีปอเมริกาเหนือ ไม่มีใครทราบที่มาของการ์ตีเยในช่วงวัยเด็กของเขา ทราบเพียงว่าในปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520) เขาสมรสกับคัทรีน บุตรสาวของฌัก เดอ กร็องฌ์ แม่ทัพแห่งเมืองแซ็ง-มาโล ซึ่งเป็นการสมรสที่ยกระดับทางสังคมของเขาขึ้นมาเป็นอย่างมาก นักประวัติศาสตร์บางคนได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่าเขาอาจจะได้เดินทางไปยังเมืองแตร์-เนิฟ ร่วมกับเรือประมง เนื่องจากดินแดนแถบนั้นเป็นที่รู้จักอย่างดีในหมู่ชาวประมงจากแคว้นบาสก์และเบรอตาญ ส่วนนักประวัติศาสตร์อีกส่วนหนึ่งได้จินตนาการว่าเขาได้ทำหน้าที่ล่ามในหลายโอกาสหลังจากเกษียณอายุแล้ว จากข้อมูลที่ว่าการ์ตีเยรู้ภาษาโปรตุเกสเป็นอย่างดี และจากบันทึกการเดินทางของเขาที่มักเปรียบเทียบชาวเผ่าอินเดียนแดงจากดินแดนนิวฟรานซ์ในทวีปอเมริกาเหนือกับชาวบราซิล ทำให้เขาได้มีโอกาสเดินเรือพร้อมกับโจวันนี แวรัซซาโนในการเดินทางสำรวจชายฝั่งประเทศบราซิลครั้งหนึ่ง ซึ่งอันที่จริงแล้ว แวรัซซาโนไม่เคยไปสำรวจชายฝั่งของบราซิล แต่หากเป็นชายฝั่งของทวีปอเมริกาเหนือ การ์ตีเยเป็นผู้คนพบนูแวลอ็องกูแลม (ส่วนหนึ่งของรัฐนิวยอร์ก) เป็นคนแรก ในปี พ.ศ. 2075 (ค.ศ. 1532) เขาได้มีโอกาสเข้าเฝ้าพระเจ้าฟรองซัวที่ 1 แห่งฝรั่งเศส โดยการแนะนำของชอง เลอ เวอเนอร์ บาทหลวงแห่งมง-แซ็ง-มีแชล ต่อมาไม่นาน พระเจ้าแผ่นดินก็ได้เลือกให้เขาเป็นผู้ออกเดินทางสำรวจ "เกาะและดินแดนบางแห่ง ที่เราน่าจะพบทองคำจำนวนมากและสิ่งของมีค่าอื่น ๆ" เขาได้เดินทางไปยังทวีปอเมริกาเหนือสามครั้ง ระหว่างปีพ.ศ. 2077 และ พ.ศ. 2085 โดยหวังว่าจะได้พบเส้นทางสายตะวันตกเฉียงเหนือไปยังทวีปเอเชี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และฌัก การ์ตีเย · ดูเพิ่มเติม »

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และจุลศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจูเลียน

ปฏิทินจูเลียน (Julian calendar; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นโดยกงสุลจูเลียส ซีซาร์ แห่งโรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่มอธิกวารทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน แรกเริ่มนั้นวันวสันตวิษุวัตตรงกับวันที่ 1 Martius (มีนาคม) จึงถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในปี 153 ก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และปฏิทินจูเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์

ปฏิทินสำหรับปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (เช่น พ.ศ. 2555 2527) หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (เช่น พ.ศ. 2554 2548 2537 2526 2520 2509) อา | style.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีนักษัตร

ปีนักษัตร หรือ นักขัต เป็นปีตามปฏิทินสุริยคติไทยและชาติอื่นในเอเชียตะวันออก เช่น จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น แบ่งเป็นรอบปี รอบละสิบสองปี แต่ละปีกำหนดสัตว์เรียกเป็นชื่อเรียงกันไปดังนี้ โดยความเชื่อเรื่องปีนักษัตรนั้นมีที่มาจากจีน ตำนานเรื่องเล่าในสมัยปีใหม่แรกของจีน (วันชิวอิก หรือวันที่ 1 เดือนอ้ายของจีน) สัตว์ทั้งหลายต่างมาชุมนุมหน้าวังหลวงของฮ่องเต้สวรรค์ ฮ่องเต้ประกาศให้สัตว์ 12 ชนิด ที่มาถึงก่อนวัน (วันชิวยี่ หรือวันที่ 2 เดือนอ้าย)  ดังนั้นสัตว์ 12 ชนิด ได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์ ใน 1 วัน สัตว์ 1 ชนิดอยู่ยาม 2 ชั่วโมง สัตว์ 12 ชนิดอยู่ยาม 24 ชั่วโมง รวมเป็น 12 ยามเฝ้าวังหลวง โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีพบว่าตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ) ก็มีปรากฏรูปปีนักษัตรแล้ว โดยใช้สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ อันได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และปีนักษัตร · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

31 ธันวาคม

วันที่ 31 ธันวาคม เป็นวันที่ 365 ของปี (วันที่ 366 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เป็น "วันสิ้นปี" ก่อนวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันสุดท้ายของปี โดยวันรุ่งขึ้นเป็นวันที่ 1 มกราคม ของปีถัดไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2034และ31 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1491

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »