โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1936

ดัชนี พ.ศ. 1936

ทธศักราช 1936 ใกล้เคียงกั.

23 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1911พ.ศ. 1928พ.ศ. 1931พ.ศ. 1938พ.ศ. 1942พ.ศ. 1944พญาแสนเมืองมาพระมหาธรรมราชาที่ 2พระเจ้าฟ้างุ้มกระดาษชำระมหาศักราชสมเด็จพระราเมศวรสมเด็จพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาทอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรล้านนาอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาจุลศักราชปฏิทินจูเลียนปักกิ่งปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธปีนักษัตร

พ.ศ. 1911

ทธศักราช 1911 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพ.ศ. 1911 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1928

ทธศักราช 1928 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพ.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1931

ทธศักราช 1931 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพ.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1938

ทธศักราช 1938 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพ.ศ. 1938 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1942

ทธศักราช 1942 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพ.ศ. 1942 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1944

ทธศักราช 1944 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพ.ศ. 1944 · ดูเพิ่มเติม »

พญาแสนเมืองมา

ญาแสนเมืองมา (80px) กษัตริย์ของราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา ครองราชย์ในปี พ.ศ. 1928 จนถึง 1944 รวมการครองสิริราชสมบัติได้ 16 ปี ในสมัยรัชกาลของพระองค์นี้ได้เกิดสงครามแย่งชิงราชสมบัติอยู่บ่อยครั้งอีกครั้ง โดยเจ้าท้าวมหาพรหม ซึ่งเป็นพระเจ้าอาของพระองค์ ซึ่งครองอยู่ที่เมืองเชียงราย พยายามแย่งครองราชบัลลังก์ แต่เจ้าแสนเมืองมาก็สามารถปกป้องราชบัลลังก์ได้สำเร็จ พญาแสนเมืองมาเป็นโอรสของพญากือนา ขณะที่มีพระชนมมายุ 39 ปี พระองค์โปรดให้สร้างพระเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จดีก็สวรรคต.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพญาแสนเมืองมา · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาธรรมราชาที่ 2

ระมหาธรรมราชาที่ 2 หรือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัย ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพระมหาธรรมราชาที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟ้างุ้ม

ระเจ้าฟ้างุ้ม (พ.ศ. 1859-1936) เอกสารบางแห่งออกพระนามว่า เจ้าฟ้างุ่ม หรือ เจ้าฝ้างู่ม (ຝ້າງູ່ມ) ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้าง และเป็นกษัตริย์ผู้ครองนครเชียงดง-เชียงทองพระองค์ที่ ๒๗ ซึ่งสืบเชื้อสายราชวงศ์มาจากขุนบรมราชาธิราช ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นมหาราชพระองค์แรกของประเทศลาว พระเจ้าศรีสุริโยวงษ์ พระมหากษัตริย์แห่งกรุงอินทปัตถ์ (พระนครหลวง) ในอาณาจักรขอม ทรงยกพระราชธิดาของพระองค์ให้เป็นพระอัครมเหสี พระเจ้าฟ้างุ้มและพระอัครมเหสีทรงมีบทบาทสำคัญในการนำพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์แบบกัมพูชาเข้ามาเผยแพร่ในราชอาณาจักรล้านช้าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และพระเจ้าฟ้างุ้ม · ดูเพิ่มเติม »

กระดาษชำระ

กระดาษชำระ (Toilet Paper) เป็นกระดาษที่ใช้เพื่อทำความสะอาดภายหลังกิจปลดทุกข์ (ถ่ายอุจจาระ) มักมีลักษณะเป็นม้วนกลม และมีเนื้อกระดาษเบาและบางกว่ากระดาษทิชชู่ซึ่งใช้สำหรับซับหน้า คุณลักษณะเด่นของกระดาษชำระคือ ยุ่ยเปื่อยได้ง่ายเมื่อสัมผัสกับน้ำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และกระดาษชำระ · ดูเพิ่มเติม »

มหาศักราช

มหาศักราช (ตัวย่อ ม.ศ.; อังกฤษ: Shalivahana era, Saka era) เป็นศักราชที่ใช้ตามปีครองราชย์ของ พระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ที่ปกครองอาณาจักรกุษาณะ หรือ พระเจ้าสลิวาหนะ ศากยะวงศ์องค์หนึ่ง ที่มีอาณาเขตยิ่งใหญ่ปกครองอาณาเขตถึงบริเวณที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ อินเดียส่วนเหนือ อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน และส่วนตะวันตกของจีน ปีมหาศักราชนั้นในหนังสือไทยจะอ้างถึงปีที่เริ่มครองราชย์คือ พ.ศ. 621 (ค.ศ. 78) ในขณะที่บันทึกต่างประเทศระบุว่าครองราชย์ในปี ค.ศ. 127 (พ.ศ. 670) ด้านสารานุกรมบริเตนนิการะบุว่าไม่ทราบปีครองราชย์ที่แน่นอน คาดว่าอยู่ในช่วง ค.ศ. 78 - 144 เมื่อมหาศักราชแพร่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้จารึกต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัยและอาณาจักรใกล้เคียงต่างใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่ คาดว่าไทยเลิกใช้มหาศักราชในปี พ.ศ. 2112 โดยเปลี่ยนไปใช้จุลศักราชแทน อย่างไรก็ตามมีการใช้มหาศักราชอยู่บ้างหลังจากนั้น ดังปรากฏในจารึกวัดไชยวัฒนาราม (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) ปัจจุบันการแปลงมหาศักราช เป็นพุทธศักราช ให้นำ 621 บวกปีมหาศักราชนั้น จะได้ปีพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และมหาศักราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราเมศวร

มเด็จพระราเมศวร (พ.ศ. 1882 - พ.ศ. 1938) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 2 แห่งอาณาจักรอยุธยา เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 กับพระมเหสีซึ่งเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ผู้ครองเมืองสุพรรณบุรี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ได้เพียงปีเดียวก็สละราชสมบัติให้สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ผู้เป็นพระมาตุลา และเสด็จขึ้นครองราชสมบัติอีกครั้งภายหลังการสำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้าทองลัน พระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ที่ครองราชสมบัติได้เพียง 7 วัน แม้พระองค์จะทรงสำเร็จโทษพระเจ้าทองลันเพื่อชิงราชสมบัติ แต่ก็ทรงสร้างคุณูปการต่อกรุงศรีอยุธยาไว้หลายประการ ไม่ว่าจะด้านพระศาสนาหรือการสงคราม ซึ่งพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ควรยกย่องเชิดชูพระเกียรติที่ทรงปกครองบ้านเมืองให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุขโดยที่ไม่มีเมืองต่างๆมารุกราน พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงขยายอาณาเขตให้อาณาจักรอยุธยายิ่งใหญ่ พระองค์ยังทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอยู่ตลอดเวลา แม้เวลาส่วนมากจะทำศึกสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และสมเด็จพระราเมศวร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาท

มเด็จพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาท (หรือ สมเด็จพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาถ) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งอาณาจักรล้านช้าง พระองค์เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าฟ้างุ้มมหาราช ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และสมเด็จพระเจ้าสามแสนไทไตรภูวนาท · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา (95px) คือ ราชอาณาจักรของชาวไทยวนในอดีตที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ตลอดจนสิบสองปันนา เช่น เมืองเชียงรุ่ง (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ภาคตะวันออกของพม่า ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ซึ่งมีเมืองเชียงตุงเป็นเมืองเอก ฝั่งตะวันตกแม่นำสาละวิน มีเมืองนายเป็นเมืองเอก และ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอนสรัสวดี อ๋องสกุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และอาณาจักรล้านนา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และจุลศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินจูเลียน

ปฏิทินจูเลียน (Julian calendar; คำว่า จูเลียน แปลว่า แห่งจูเลียส) เป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นโดยกงสุลจูเลียส ซีซาร์ แห่งโรมัน โดยปฏิรูปจากปฏิทินโรมัน เมื่อ 46 ปีก่อนคริสต์ศักราช มีผลบังคับใช้ในปีถัดไปคือ 45 ปีก่อนคริสต์ศักราช รอบปีหนึ่งของปฏิทินจูเลียนมี 12 เดือน มีจำนวนวันรวม 365 วัน นอกจากนี้เดือนกุมภาพันธ์จะเพิ่มอธิกวารทุก ๆ สี่ปี ดังนั้นรอบปีโดยเฉลี่ยต่อสี่ปีของปฏิทินจูเลียนเท่ากับ 365.25 วัน แรกเริ่มนั้นวันวสันตวิษุวัตตรงกับวันที่ 1 Martius (มีนาคม) จึงถือว่าเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในปี 153 ก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และปฏิทินจูเลียน · ดูเพิ่มเติม »

ปักกิ่ง

ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิง (จีน:, พินอิน: Běijīng) เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อย่อว่า จิง ตั้งอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ ที่ราบหวาเป่ย์ ชื่อเดิมคือ จี่ (冀) สมัยวสันตสารท (春秋)และสมัยรณรัฐ (战国)เป็นเมืองหลวงของแคว้นเยียน สมัยราชวงศ์เหลียว เป็นเมืองหลวงรอง ชื่อ เยียนจิง เป็นเมืองหลวงของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์จิน หยวน หมิง ชิงจนถึง สาธารณรัฐจีน เคยใช้ชื่อจงตู ต้าตู เป่ย์ผิงและเป่ย์จิง โดยมีชื่อเรียกทั้งหมดกว่า 60 ชื่อ เริ่มตั้งเป็นเมืองตั้งแต่ปี 1928 ปัจจุบัน แบ่งเป็น 16 เขตและ 2 อำเภอ เป็นนครที่ขึ้นตรงต่อส่วนกลาง พื้นที่ทั่วกรุงปักกิ่งมีถึง 16,800 ตารางกิโลเมตร ถึงสิ้นปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี (เช่น พ.ศ. 2558 2552 2541 2530 2524 2513) หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี · ดูเพิ่มเติม »

ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ

ปฏิทินสำหรับปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ (เช่น พ.ศ. 2546, พ.ศ. 2557) ---- หมวดหมู่:สัปดาห์ หมวดหมู่:ปฏิทิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ · ดูเพิ่มเติม »

ปีนักษัตร

ปีนักษัตร หรือ นักขัต เป็นปีตามปฏิทินสุริยคติไทยและชาติอื่นในเอเชียตะวันออก เช่น จีน เวียดนาม และญี่ปุ่น แบ่งเป็นรอบปี รอบละสิบสองปี แต่ละปีกำหนดสัตว์เรียกเป็นชื่อเรียงกันไปดังนี้ โดยความเชื่อเรื่องปีนักษัตรนั้นมีที่มาจากจีน ตำนานเรื่องเล่าในสมัยปีใหม่แรกของจีน (วันชิวอิก หรือวันที่ 1 เดือนอ้ายของจีน) สัตว์ทั้งหลายต่างมาชุมนุมหน้าวังหลวงของฮ่องเต้สวรรค์ ฮ่องเต้ประกาศให้สัตว์ 12 ชนิด ที่มาถึงก่อนวัน (วันชิวยี่ หรือวันที่ 2 เดือนอ้าย)  ดังนั้นสัตว์ 12 ชนิด ได้รับแต่งตั้งเป็นองค์รักษ์ ใน 1 วัน สัตว์ 1 ชนิดอยู่ยาม 2 ชั่วโมง สัตว์ 12 ชนิดอยู่ยาม 24 ชั่วโมง รวมเป็น 12 ยามเฝ้าวังหลวง โดยมีหลักฐานทางโบราณคดีพบว่าตั้งแต่ก่อนยุคราชวงศ์ฉิน (221 ปีก่อนค.ศ. – 207 ปีก่อนค.ศ) ก็มีปรากฏรูปปีนักษัตรแล้ว โดยใช้สัตว์ประเภทต่าง ๆ เป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ อันได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 1936และปีนักษัตร · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1393

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »