เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์

ดัชนี ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์

ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์ (hard problem of consciousness) เป็นปัญหาที่จะต้องอธิบายว.

สารบัญ

  1. 5 ความสัมพันธ์: การรับรู้วัตถุนิยมอัตวิสัยอารมณ์ (ศาสนาพุทธ)ควอเลีย

  2. ความรู้สึกตัว
  3. ปัญหาปลายเปิด
  4. ปัญหาระหว่างจิตกับร่างกาย
  5. ปัญหาเชิงปรัชญา

การรับรู้

ลูกบาศก์เนกเกอร์และแจกันรูบินสามารถมองเห็น/รับรู้ได้มากกว่า 1 แบบ การรับรู้ หรือ สัญชาน (Perception จากคำภาษาละตินว่า perceptio) เป็นการจัดระเบียบ ระบุ และแปลผลข้อมูลจากประสาทสัมผัสเพื่อใช้เป็นแบบจำลองและเข้าใจข้อมูลหรือโลกรอบ ๆ ตัว การรับรู้ทุกอย่างจะต้องเกี่ยวกับสัญญาณประสาทที่ส่งไปยังระบบประสาท โดยสัญญาณก็จะเป็นผลของการเร้าระบบรับความรู้สึกทางกายภาพหรือทางเคมี ยกตัวอย่างเช่น การเห็นจะเกี่ยวกับแสงที่มากระทบจอตา การได้กลิ่นจะอำนวยโดยโมเลกุลที่มีกลิ่น และการได้ยินจะเกี่ยวกับคลื่นเสียง การรับรู้ไม่ใช่เป็นเพียงแค่การรับสัญญาณทางประสาทสัมผัสเฉย ๆ แต่จะได้รับอิทธิพลจากการเรียนรู้ ความทรงจำ ความคาดหวัง และการใส่ใจของบุคคลนั้น ๆ การรับรู้สามารถแบ่งเป็นสองส่วน คือ.

ดู ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์และการรับรู้

วัตถุนิยม

วัตถุนิยม หรือ สสารนิยม เป็นแนวคิดทางปรัชญา ที่ถือว่ามีเพียงสสาร และปรากฏการณ์ของสสารที่เป็นจริง ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆ เกิดจากผลผลิตของสสาร วัตถุนิยมหรือสสารนิยม จัดเป็นปรัชญาแบบเอกนิยม คำอธิบายของวัตถุนิยมนั้นขัดแย้งกับปรัชญาจิตนิยม วัตถุนิยมยอมรับแนวคิดทฤษฎีอะตอมและการลดทอน.

ดู ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์และวัตถุนิยม

อัตวิสัย

อัตวิสัย หรือ จิตวิสัย (subjectivity) หมายถึงมุมมองหรือความคิดเห็นของบุคคล โดยเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ความเชื่อ หรือความต้องการ อาจหมายถึงแนวความคิดส่วนบุคคลที่ไม่สามารถพิสูจน์ได้ ซึ่งตรงข้ามกับความรู้และความเชื่อที่มีพื้นฐานอยู่บนข้อเท็จจริง ในทางปรัชญา คำนี้มักมีความหมายตรงข้ามกับ ปรวิสัย อัตวิสัยเป็นทัศนะที่มีความเชื่อว่า การมีอยู่ หรือ ความจริงของสิ่งสิ่งหนึ่งอยู่กับตัวเราเองเป็นคนตัดสิน เช่น คุณได้กลิ่นน้ำหอมยี่ห้อนี้แล้วหอม แต่ในคนอื่นเมื่อได้กลิ่นแล้วเหม็นก็ได้.

ดู ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์และอัตวิสัย

อารมณ์ (ศาสนาพุทธ)

อารมณ์ แปลว่า สิ่งหน่วงเหนี่ยวจิต, สิ่งที่ยึดดึงจิตไว้ ในทางพุทธศาสนา อารมณ์หมายถึงสิ่งที่จิตไปเกาะเกี่ยวอยู่แล้วยึดจิตไว้ มี 6 อย่าง คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรม มีชื่อเรียกโดยเฉพาะว่า รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ ธรรมารมณ์ ตามลำดั.

ดู ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์และอารมณ์ (ศาสนาพุทธ)

ควอเลีย

วอเลีย (qualia, เอกพจน์ quale) เป็นคำในปรัชญาศาสตร์ที่ใช้เรียกประสบการณ์แห่งการรับรู้ซึ่งเป็นอัตวิสัยจิตวิสัย คำนี้มาจากคำละตินซึ่งหมายความว่า “ลักษณะอย่างไร” หรือ “ชนิดไหน” ตัวอย่างของควอเลียคือความรู้สึกปวดหัว รสชาติของไวน์ และสีแดงของท้องฟ้าในยามเย็นที่บุคคลรู้สึกรับรู้ แดเนียว เดนเน็ทท์ (เกิด ค.ศ.

ดู ปัญหายากของการรับรู้อารมณ์และควอเลีย

ดูเพิ่มเติม

ความรู้สึกตัว

ปัญหาปลายเปิด

ปัญหาระหว่างจิตกับร่างกาย

ปัญหาเชิงปรัชญา

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Hard problem of consciousnessปัญหายากแห่งการรับรู้อารมณ์