โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

บูม

ดัชนี บูม

ูม (Boom) อาจหมายถึง.

5 ความสัมพันธ์: บูม (หนังสือการ์ตูน)ระเบิดจตุคามรามเทพซอนิกบูมไมโครโฟน

บูม (หนังสือการ์ตูน)

ูม (Boom) เป็นหนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ เจ้าของคือสำนักพิมพ์เนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ (NED) ในเครือเนชั่นกรุ๊ป การ์ตูนในเล่มเป็นการ์ตูนที่ตีพิมพ์ลงในนิตยสารโชเน็นจัมป์รายสัปดาห์ ของสำนักพิมพ์ชูเอฉะ ประเทศญี่ปุ่น ในปัจจุบันทางเนชั่น เอ็ดดูเทนเมนท์ ได้ยุติการวางจำหน่ายแล้ว โดยฉบับสุดท้ายได้วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 25 มีนาคม..

ใหม่!!: บูมและบูม (หนังสือการ์ตูน) · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิด

ระเบิด ระเบิด คือวัตถุที่ทำให้เกิดการระเบิด จะบรรจุวัตถุระเบิดไว้ภายใน.

ใหม่!!: บูมและระเบิด · ดูเพิ่มเติม »

จตุคามรามเทพ

ท้าวขัตตุคาม-ท้าวรามเทพ จตุคามรามเทพ หมายถึง เทพรักษาวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช สององค์ คือ ท้าวขัตตุคาม และ ท้าวรามเทพ ซึ่งเดิมในความเชื่อของศาสนาพราหมณ์เป็นเทพชั้นสูง และมีอยู่ทั่วไปทุกภาคของประเทศไทย แต่เมื่อภูมิภาคแถบอุษาคเนย์นี้รับอิทธิพลของพุทธศาสนาเข้ามา ท้าวขัตตุคาม และ ท้าวรามเทพ จึงถูกเปลี่ยนสถานะเป็นเทวดารักษาพระบรมธาตุ และเปลี่ยนชื่อให้เป็นมงคล เป็น ท้าวจตุคาม และสถิตอยู่บนที่บานประตูทางขึ้นพระบรมธาตุ ในปี พ.ศ. 2530 เมื่อครั้งมีการตั้งดวงเมืองนครศรีธรรมราชขึ้นใหม่ จึงมีการอัญเชิญ จตุคามรามเทพ ไปสถิต ณ ที่นั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: บูมและจตุคามรามเทพ · ดูเพิ่มเติม »

ซอนิกบูม

ตัวอย่างกรณีแหล่งกำเนิดเสียง (จุดสีแดง) เคลื่อนที่เร็วกว่าความเร็วเสียง 1.4 เท่า (1.4 มัค) ทำให้ตัวแหล่งกำเนิดเสียงไปไวและอยู่นำคลื่นเสียง กรณีเช่นนี้ทำให้เกิดเสียงจากซอนิกบูมได้ ซอนิกบูม (sonic boom) คือ เสียงที่เกี่ยวข้องกับคลื่นกระแทกหรือช็อกเวฟ เกิดขึ้นจากการที่แหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่ในอากาศด้วยอัตราเร็วที่มากกว่าความเร็วเสียง ซอนิกบูมทำให้เกิดพลังงานเสียงปริมาณสูง เสียงคล้ายระเบิด ตัวอย่างของเสียงที่เกิดจากซอนิกบูมอย่างง่ายคือ เสียงของลูกปืนที่วิ่งในอากาศ หรือเสียงของการเหวี่ยงแส้ ตลอดจนเสียงเครื่องบินรบที่บินผ่านไป.

ใหม่!!: บูมและซอนิกบูม · ดูเพิ่มเติม »

ไมโครโฟน

มโครโฟน ไมโครโฟน คืออุปกรณ์รับเสียงแล้วแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยายเสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่น ๆ ไมโครโฟนประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบตัวรับในไมโครโฟน จะทำให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทำให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็นหลักการทำงานตรงข้ามกับลำโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง.

ใหม่!!: บูมและไมโครโฟน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Boom

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »