เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ธรรมนูญ เทียนเงิน

ดัชนี ธรรมนูญ เทียนเงิน

นายธรรมนูญ เทียนเงิน (28 มิถุนายน พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2532) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้งเป็นคนแรก อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และ อดีตผู้อำนวยการลูกเสือชาวบ้านพระนคร มีศักดิ์เป็นอา ของ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของประเทศไท.

สารบัญ

  1. 34 ความสัมพันธ์: ชลอ ธรรมศิริชวน หลีกภัยพ.ศ. 2456พ.ศ. 2513พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2520พ.ศ. 2532พรรคพลังใหม่พรรคกิจสังคมพรรคประชาธิปัตย์กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519ลูกเสือชาวบ้านสมัคร สุนทรเวชสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชอาทิตย์ อุไรรัตน์ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจังหวัดชลบุรีจำลอง ศรีเมืองธานินทร์ กรัยวิเชียรดำรง ลัทธพิพัฒน์คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35นายกรัฐมนตรีใหญ่ ศวิตชาติเหตุการณ์ 6 ตุลา10 สิงหาคม26 กันยายน28 มิถุนายน29 เมษายน6 ตุลาคม

ชลอ ธรรมศิริ

นายชลอ ธรรมศิริ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครลำดับที่ 6 โดยเป็นผู้ว่าราชการจากการแต่งตั้ง ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 29 เมษายน..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและชลอ ธรรมศิริ

ชวน หลีกภัย

วน หลีกภัย (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 —) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 ดำรงตำแหน่งสองสมัย ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัต.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและชวน หลีกภัย

พ.ศ. 2456

ทธศักราช 2456 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1913 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพ.ศ. 2456

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพ.ศ. 2513

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพ.ศ. 2518

พ.ศ. 2519

ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพ.ศ. 2519

พ.ศ. 2520

ทธศักราช 2520 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1977 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพ.ศ. 2520

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพ.ศ. 2532

พรรคพลังใหม่

รรคพลังใหม่ เป็นพรรคการเมืองในประเทศไทย ก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมการเมืองหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 โดยจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเลขที่ 17/2517 เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพรรคพลังใหม่

พรรคกิจสังคม

รรคกิจสังคม (Social Action Party) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517 โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช โดยให้ชื่อว่า "กิจสังคม" โดยแปลตรงตัวจากภาษาอังกฤษ โดยนำชื่อพรรคมาจากพรรคการเมืองนี้ในประเทศอังกฤษ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 27,413 คน และมีสาขาพรรคจำนวน 4 สาขา หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ผู้ก่อตั้งพรรค และหัวหน้าพรรคคนแรกให้เหตุผลว.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพรรคกิจสังคม

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและพรรคประชาธิปัตย์

กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

กระทรวงมหาดไทย มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอำนวยความเป็นธรรมของสังคม การส่งเสริมและพัฒนาการเมืองการปกครอง การพัฒนาการบริหารราชการส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและพัฒนาชุมชน การทะเบียนราษฎร ความมั่นคงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพัฒนาเมืองและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไท.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและกระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

รัฐประหาร 6 ตุลาคม..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519

ลูกเสือชาวบ้าน

ลูกเสือชาวบ้าน เป็นกลุ่มของชาวบ้านที่มาทำประโยชน์ให้แก่สังคมผ่านการลูกเสือ โดยที่มีการทำงานหรือการเข้าค่ายต่าง ๆ คล้ายกับลูกเสือที่มีการเรียนการสอนตามโรงเรียน เริ่มต้นในปี พ.ศ.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและลูกเสือชาวบ้าน

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและสมัคร สุนทรเวช

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นองค์กรเลขานุการและการบริหารงานของ "คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน" ซึ่งมีหน้าที่ในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ภายใต้ "พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน".

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

ตราจารย์พิเศษ พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน พ.ศ. 2454 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2538) นักปราชญ์ นักเขียน นักการเมือง และศิลปินแห่งชาติ นับเป็นปูชนียบุคคลท่านหนึ่งของไทย เป็นน้องชายแท้ ๆ ของ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี 4 สมัย สื่อมวลชนจึงนิยมเรียกทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ และ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ยังมีพี่สาวคือ หม่อมราชวงศ์บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พลตำรวจเอกพระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) เมื่อปลายปี..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

อาทิตย์ อุไรรัตน์

อาทิตย์ อุไรรัตน์ (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2481-) อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม อดีตเจ้าของโรงพยาบาลเอกชนในเครือพญาไท เขาได้รับฉายา "วีรบุรุษประชาธิปไตย" จากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่ได้เสนอชื่อ อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีแทน พล.อ.อ.สมบุญ ระหงษ์ ที่กล่าวกันว่าจะมารับช่วงต่อรัฐบาล รสช.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและอาทิตย์ อุไรรัตน์

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงของประเทศไทย มีที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสี่ปี แต่ในปัจจุบันหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีคำสั่งแต่งตั้งอัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการคนปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

จังหวัดชลบุรี

ังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและจังหวัดชลบุรี

จำลอง ศรีเมือง

ลตรี จำลอง ศรีเมือง แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และผู้ว่าฯ กรุงเทพฯ 2 สมัย ผู้ก่อตั้ง และหัวหน้าพรรคพลังธรรมคนแรก เป็นแกนนำของผู้ชุมนุมในเหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ ปี..

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและจำลอง ศรีเมือง

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและธานินทร์ กรัยวิเชียร

ดำรง ลัทธพิพัฒน์

ำรง ลัทธพิพัฒน์ (29 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและดำรง ลัทธพิพัฒน์

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนสมาชิกฝ่ายรัฐบาล สีแดงคือจำนวนสมาชิกฝ่ายค้านรัฐบาล การจัดตั้งรัฐบาล คณะรัฐมนตรี คณะที่ 35 สีเขียวคือจำนวนฝ่ายรัฐบาล และ สีแดงคือจำนวนฝ่ายค้านในสภา คณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 (15 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 35

นายกรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งผู้นำของรัฐบาล เป็นตำแหน่งสูงสุด โดยมีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ บางประเทศยังต้องเลือกประธานาธิบดีแล้วแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหรือบางประเทศอาจจะให้กษัตริย์เป็นผู้แต่งตั้งก็ได้ แต่ในระบบสาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีจะไม่มีนายกรัฐมนตรี เช่น สหรัฐอเมริกา บราซิล เป็นต้น รองนายกรัฐมนตรี เป็นผู้ที่จะปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี ในขณะที่นายกรัฐมนตรีมีเหตุทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือมีหน้าที่อื่นให้ปฏิบัติ เช่น เดินทางไปประชุมที่ต่างประเทศ ลาราชการ พ้นจากตำแหน่ง เป็นต้น.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและนายกรัฐมนตรี

ใหญ่ ศวิตชาติ

นายใหญ่ ศวิตชาติ (7 ตุลาคม พ.ศ. 2450 – 12 มกราคม พ.ศ. 2525) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและใหญ่ ศวิตชาติ

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและเหตุการณ์ 6 ตุลา

10 สิงหาคม

วันที่ 10 สิงหาคม เป็นวันที่ 222 ของปี (วันที่ 223 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 143 วันในปีนั้น.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและ10 สิงหาคม

26 กันยายน

วันที่ 26 กันยายน เป็นวันที่ 269 ของปี (วันที่ 270 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 96 วันในปีนั้น.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและ26 กันยายน

28 มิถุนายน

วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและ28 มิถุนายน

29 เมษายน

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันที่ 119 ของปี (วันที่ 120 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 246 วันในปีนั้น.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและ29 เมษายน

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ดู ธรรมนูญ เทียนเงินและ6 ตุลาคม