สารบัญ
2 ความสัมพันธ์: ทะเลสาบน้ำเค็มตะกอน
- ธรณีสัณฐานวิทยา
- เกลือ
ทะเลสาบน้ำเค็ม
ทะเลสาบน้ำเค็ม (Salt lake)เป็นตัวที่ใช้แยกน้ำเค็มบริเวณตื้น หรือพวกน้ำกร่อย ออกจากพวกทะเลจริงๆ แยกโดยมีแนวหาดทรายกั้น หรือสันดอนทราย หรือ แนวปะการัง เป็นต้น ดังนั้นในส่วนที่โดนโอบล้อมไปด้วยแนวเหล่านี้ หรือที่โดนโอบล้อมด้วยเกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากแนวหินปะการัง(atoll reef) เรียกว่า ทะเลสาบน้ำเค็ม ในส่วนที่กล่าวถึงเรื่องปะการังนั้น ทะเลสาบน้ำเค็ม (lagoon) นั้น อาจกล่าวได้อีกว่าเป็นแนวหลังปะการัง (backreef) ซึ่งจะเป็นคำที่นักวิทยาศาตร์ด้านปะการัง หมายถึงว่าเป็นบริเวณเดียวกัน ทะเลสาบน้ำเค็ม หมายถึงชายฝั่งทะเลสาบ ซึ่งได้มาจากการเกิดของพวกสันดอนทราย หรือแนวปะการังตามแนวชายฝั่ง บริเวณน้ำตื้น และทะเลสาบน้ำเค็มในเกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากแนวหินปะการัง (atoll reef) นั้นเกิดจากการโตของปะการัง และบริเวณตรงกลางค่อยๆจมลงอย่างช้าๆ บริเวณที่มีทะเลสาบน้ำเค็มที่มีน้ำจืดไหลมาเติมอยู่เรื่อยๆ เรียกว่า ชะวากทะเล (Estuaries).
ดู ทะเลสาบแห้งและทะเลสาบน้ำเค็ม
ตะกอน
ตะกอน คือ อินทรีย์วัตถุ หรือ อนินทรีย์วัตถุที่มีขนาดเล็กเช่น กรวด หิน ดิน ทราย ที่เกิดจากกระบวนการสลายตามธรรมชาติ ถูกพัดพาปะปนกับกระแสน้ำ และทับถมกันบริเวณด้านล่างที่กระแสน้ำไหลผ่าน ตะกอนมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับสิ่งปะปนในกระแสน้ำนั้น ๆ เช่น ดิน หิน ทราย หรือตะกอนที่เป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลาย ลักษณะเป็นสีคล้ำ มีความหยุ่น เรียกว่า โคลน อีกความหมายหนึ่งคือ อนุภาคที่แยกตัวออกมาจากสารละลาย เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง เช่น น้ำผสมผงแป้ง เมื่อทิ้งไว้ระยะเวลาหนึ่ง ผงแป้งจะตกตะกอนลงสู่ด้านล่าง เห็นเป็นชั้นแป้งและน้ำอย่างชัดเจน.
ดูเพิ่มเติม
ธรณีสัณฐานวิทยา
- กระบวนการของธารน้ำ
- การกัดเซาะชายฝั่ง
- คาสต์
- ตะกอนไหล
- ทะเลสาบแห้ง
- ธรณีพิบัติภัย
- ธรณีสัณฐานวิทยา
- น้ำซับ
- บริเวณแห้งแล้ง
- พื้นดิน
- ภูมิประเทศแบดแลนด์
- ระบบลำธาร
- รูปแบบการไหลของลำน้ำ
- ลำน้ำโค้งตวัด
- สันปันน้ำ
- เกาะแม่น้ำ
- เนินยอดป้าน
- แม่น้ำ
เกลือ
- ทะเลสาบน้ำเค็ม
- ทะเลสาบแห้ง
- น้ำเกลือเข้มข้น
- สบู่
- เกลือ (เคมี)
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Salt pan