โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)

ดัชนี ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)

ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี สืบความจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานโดยมีวัดเป็นศูนย์ในอดีต พร้อมกับหลักฐานวัดร้างที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากรที่มีประวัติเนื่องต่อกับชุมชนในอดีตล่วงมาจนถึงปัจจุบัน ตำบลบ้านสวนเป็นศูนย์การการเพราะปลูกข้าว "คุณภาพ" ที่สำคัญอีกแหล่งหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย อันเนื่องเป็นที่ลุ่มที่เหมาะแก่การทำเกษตร.

54 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2279พ.ศ. 2328พ.ศ. 2329พ.ศ. 2335พ.ศ. 2352พ.ศ. 2450พ.ศ. 2460พ.ศ. 2475พ.ศ. 2482พ.ศ. 2525พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชกรมศิลปากรกรุงเทพมหานครรัฐนิยมราชกิจจานุเบกษาราชวงศ์จักรีรายการรหัสไปรษณีย์ไทยวัดบึงวัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรมวัดหัวฝายวัดอมราวาสวัดคลองตะเคียนวัดคุ้งยางใหญ่วัดป่าเรไรวงมังคละสยามสำนักหอสมุดแห่งชาติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาหมู่บ้านอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรสุโขทัยอำเภอพรหมพิรามอำเภอพิชัยอำเภอกงไกรลาศอำเภอศรีสำโรงอำเภอเมืองสุโขทัยองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสวนจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดสวรรคโลกจังหวัดสุโขทัยจังหวัดอุตรดิตถ์จุลศักราชจดหมายเหตุถนนเลี่ยงเมืองข้าวตำบลบ้านหลุมตำบลตาลเตี้ยประเทศไทยแปลก พิบูลสงครามไมเคิล ไรท์...เมืองหลวง1 เมษายน20 มีนาคม7 กันยายน ขยายดัชนี (4 มากกว่า) »

พ.ศ. 2279

ทธศักราช 2279 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2279 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2328 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2329

ทธศักราช 2329 ใกล้เคียงกับ คริสต์ศักราช 1786.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2329 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2335

ทธศักราช 2335 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1792 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2335 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2352

ทธศักราช 2352 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2352 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

กรมศิลปากร

กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานของรัฐซึ่งมีภารกิจคุ้มครอง ป้องกัน อนุรักษ์ บำรุงรักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จัดการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา สืบทอดศิลปะและทรัพย์สินมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธำรงคุณค่าและเอกลักษณ์ของความเป็นชาติ อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคมไทยและความมั่นคงของชาต.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และกรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิยม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และรัฐนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ราชกิจจานุเบกษา

ราชกิจจานุเบกษา (Royal Thai Government Gazette, เรียกสั้น ๆ ว่า Government Gazette) เป็นหนังสือรวบรวมคำประกาศของทางราชการ โดยเริ่มจัดพิมพ์ขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เมื่อวันจันทร์ ขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ปีมะเมีย นพศก จุลศักราช 1219 ตรงกับวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2401 นับเป็นเอกสารหลักในการแจ้งประกาศ กฎหมาย และคำสั่งทางราชการให้ประชาชนทราบอย่างเป็นทางการจวบจนปัจจุบันนี้ นับเป็นสิ่งพิมพ์ของไทยที่มีอายุยาวนานที่สุด โดยมีสำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นผู้รับผิดชอบจัดพิมพ์และเผยแพร.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และราชกิจจานุเบกษา · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดบึง

วัดบึง หรือ วัดบึงวนาราม เป็นศาสนสถานในพุทธศาสนา ที่มีประวัติความเป็นมาพร้อม ๆ กับชุมชนบ้านสวน และชุมชนอื่น ๆ ในบริเวณใกล้เคียงโดยดูลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน ที่ใกล้กับแหล่งน้ำ การประกอบอาชีพทางการเกษตรที่ต้องใช้น้ำเป็นปัจจัยหลักในการประกอบอาชีพ เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดบึง · ดูเพิ่มเติม »

วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม

วัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรมเป็นวัดที่มีประวัติความเป็นมายาวนานคู่กับวัดคุ้งยางใหญ่ หรือที่เรียกว่า "วัดใหญ่" ส่วนวัดฤทธิ์จะเป็นที่รับรู้กันในชุมชนว่า "วัดน้อย" คือใช้ที่ตั้งวัดในเชิงภูมิศาสตร์และขนาดเป็นตัวกำหนด โดยวัดจะเป็นศูนย์กลางชุมชนอีกฟากหนึ่งของ"คลอง"บ้านสวนกับชุมชนวัดคุ้งยางใหญ่ ที่เชื่อมต่อจากแม่น้ำยมที่ใช้เป็นทางสัญจรและแหล่งน้ำในการเกษตร อุปโภคบริโภคในชุมชนชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดหัวฝาย

วัดหัวฝาย ตั้งอยู่ที่บ้านสวนใต้ หมู่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นวัดที่เก่าแก่และมีประวัติความเป็นมาพร้อมกับชุมชนบ้านสวนอีกแห่งหนึ่ง วัดหัวฝายเป็นวัดที่พระครูสังฆรักเจ๊ก เคยเป็นเจ้าอาวาส และท่านยังเป็นกรรมวาจาจารย์หลวงพ่อห้อม อมโร เถรคณาจารย์แห่งจังหวัดสุโขทัยด้ว.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดหัวฝาย · ดูเพิ่มเติม »

วัดอมราวาส

วัดอมราวาส หรือวัดฉุน นี้ตั้งอยู่ที่หมู่ 5 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ประเภทวัดราษฎร.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดอมราวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดคลองตะเคียน

วัดคลองตะเคียน เป็นวัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 6 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นวัดที่มีประวัติการก่อตั้งในที่บริเวณที่เป็นวัดร้างเดิมที่เรียกว่า "วัดไก่แจ้" ที่มีประวัติความมเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยตอนปลาย อันปรากฏหลักฐานเป็นซากวัดร้างและเจดีย์ที่ปรากฏในปัจจุบัน เป็นวัดหลวงพ่อห้อม อมโร หรือพระราชพฤฒาจารย์ วัดคูหาสุวรรณ อดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย ซึ่งเป็นบ้านเกิดของท่านได้ริเริ่มให้มีการจัดสร้าง และยกวัดร้างเดิมให้เป็นวัดที่มีพระสงฆ์อยู่จำพรรษาตั้งแต..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดคลองตะเคียน · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งยางใหญ่

วัดคุ้งยางใหญ่เป็นวัดในสังกัดของคณะสงฆ์มหานิกาย ที่มีประวัติความเป็นในนับแต่ครั้งอดีต และศูนย์กลางของชุมชนชาวพุทธที่มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัย ที่วัดคุ้งยางใหญ่พระพุทธรูปศิลปสุโขทัย ที่เป็นมรดกตกทอดมาจนกระทั่งทุกวันนี้ เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย จำนวน 3 องค์ ที่ชาวบ้านสวนเรียกว่า "หลวงพ่อสามพี่น้อง" ซึ่งเป็นสิ่งการะและเคารพของชาวบ้านสวนนับแต่ครั้งอดีต.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดคุ้งยางใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าเรไร

วัดป่าเรไร เป็นวัดร้างเดิมที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งโบราณคดีทางประวัติศาสตร์ที่มาพร้อมกับชุมชนดั้งเดิมในอดีต ที่สามารถสืบค้นบอกเล่าถึงประวัติศาสตร์ชุมชน การตั้งถิ่นฐาน กลุ่มชาติพันธุ์ ความเชื่อและศาสนา ที่ปรากฏมีในครั้งอดีตเชื่อมต่อมาถึงปัจจุบันได้ เป็นวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ที่บ้านสวนใต้ หมู่ที่ 2 ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวัดป่าเรไร · ดูเพิ่มเติม »

วงมังคละ

มังคละ มีหลักฐานปรากฏว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เดิมเป็นดนตรีชั้นสูง สำหรับพระมหากษัตริย์สุโขทัยถวายประโคมในพิธีพุทธศาสนา ปัจจุบันใช้ในงานพิธีของชาวบ้าน ทั้งงานมงคลและอวมงคลในเขตภาคเหนือตอนล่างณัฐชยา นัจจนาวากุล. '''"สัตว์เลื้อยคลาน ว่าด้วยตำนาน ศาสตร์และศิลป์ในงานดนตรี"''' ใน สูจิบัตรพิธีไหว้ครูดนตรีไทย ประจำปี ๒๕๕๘. คณะมนุษยศาสตร์: มหาวิทยาลัยนเรศวร. ๒๕๕๘. หน้า ๖๘-๖๙ วงมังคละ หรือ ปี่กลอง, ปี่กลองมังคละ เป็นดนตรีชั้นสูงสำหรับพระพุทธศาสนาของอาณาจักรสุโขทัยโบราณ โดยปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 และศิลาจารึกวัดช้างล้อม สันนิษฐานว่าดนตรีมังคละนั้นรับธรรมเนียม "มงคลเภรี" มาจากศรีลังกา ก่อนที่จะกลายมาเป็นดนตรีพื้นบ้าน ในชุมชนกลุ่มคนที่ใช้สำเนียงอาณาจักรสุโขทัยโบราณ ปัจจุบันพบการละเล่นอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก และอุตรดิตถ์ รวมทั้งพบร่องรอยการละเล่นมังคละในจังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดเพชรบูรณ์ (วงตุ๊บเก่ง) รวมทั้งวงกาหลอ วงมังคละ มีความสัมพันธ์กับกลุ่มคนที่ใช้สำเนียงอาณาจักรสุโขทัยโบราณเทวประภาส มากคล้.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และวงมังคละ · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สำนักหอสมุดแห่งชาติ

ำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และสำนักหอสมุดแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้าน

หมู่บ้าน (village) เป็นนิคมหรือชุมชนมนุษย์ ใหญ่กว่าหมู่บ้านขนาดเล็ก (hamlet) แต่เล็กกว่าเมือง มีประชากรตั้งแต่ไม่กี่ร้อยคนไปถึงหลายพันคน (บางแห่งถึงหมื่นคน) ในอดีต หมู่บ้านเป็นรูปแบบชุมชนปกติสำหรับสังคมที่ใช้เกษตรกรรมเพื่อยังชีพ และยังมีในบางสังคมที่มิใช่สังคมเกษตรบ้าง ในบริเตนใหญ่ หมู่บ้านขนาดเล็กได้รับสิทธิเรียกหมู่บ้านเมื่อสร้างโบสถ์ ในหลายวัฒนธรรม เมืองและนครมีน้อย โดยมีสัดส่วนประชากรอาศัยอยู่น้อย การปฏิวัติอุตสาหกรรมดึงดูดให้คนจำนวนมากทำงานในโรงสีและโรงงาน การกระจุกของคนทำให้หลายหมู่บ้านเติบโตเป็นเมืองและนคร นอกจากนี้ยังทำให้มีความชำนาญพิเศษของแรงงานและช่างฝีมือ และพัฒนาการของการค้าจำนวนมาก แนวโน้มการกลายเป็นเมืองดำเนินต่อ แม้ไม่เชื่อมโยงกับการปรับให้เป็นอุตสาหกรรมเสมอไป หมู่บ้านเสื่อมความสำคัญลงทั้งที่เป็นหน่วยสังคมและนิคมมนุษย์ แม้มีชีวิตหมู่บ้านหลากรูปแบบ แต่หมู่บ้านตรงแบบเล็ก บางทีประกอบด้วย 5 ถึง 30 ครอบครัว บ้านตั้งอยู่ด้วยกันเพื่อการเข้าสังคมและการป้องกัน และดินแดนโดยรอบพื้นที่อยู่อาศัยมีการทำไร่นา หมู่บ้านประมงเดิมยึดการประมงพื้นบ้าน (artisan fishing) และตั้งอยู่ติดพื้นที่จับปลา หมวดหมู่:หน่วยการปกครอง หมวดหมู่:หมู่บ้าน หมวดหมู่:ที่อยู่อาศัย.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และหมู่บ้าน · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์) · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพรหมพิราม

อำเภอพรหมพิราม เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอำเภอพรหมพิราม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิชัย

อำเภอพิชัย เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พิชัยเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เคยเป็นเมืองลูกหลวงของกรุงสุโขทัย เมืองหน้าด่านในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเคยเป็นตัวจังหวัดเก่าอีกด้ว.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอำเภอพิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกงไกรลาศ

กงไกรลาศ เป็น 1 ใน 9 อำเภอของจังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอำเภอกงไกรลาศ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอศรีสำโรง

อำเภอศรีสำโรง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอำเภอศรีสำโรง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุโขทัย

อำเภอเมืองสุโขทัย เป็นศูนย์กลางการบริหารราชการ ศูนย์กลางธุรกิจ และวัฒนธรรมของจังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และอำเภอเมืองสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสวน

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสวน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอเมืองสุโขทัย ดูแลรับผิดชอบในพื้นที่ตำบลบ้านสวน ทั้งหมดรวม 13 หมู่บ้าน มีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสวน เป็นผู้บริหารสูงสุด และมีปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสวน เป็นหัวหน้าที่ทำการ.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านสวน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสวรรคโลก

ังหวัดสวรรคโลก เป็นจังหวัดหนึ่งของไทยในอดีต ปัจจุบันคือ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และจังหวัดสวรรคโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุโขทัย

ทัย (ᩈᩩᨠᩮ᩠ᨡᩣᨴᩱ᩠ᨿ, เดิมสะกดว่า ศุโขไทย) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก กำแพงเพชร ตาก และลำปาง (เรียงตามเข็มนาฬิกาจากด้านเหนือ).

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และจังหวัดสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุลศักราช

ลศักราช (จ.ศ.; Culāsakaraj; ကောဇာသက္ကရာဇ်; ចុល្លសករាជ) เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1181 (ค.ศ. 638) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้นเป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อจะประสูติ สันนิษฐานว่าน่าจะตั้งขึ้นในปีที่กษัตริย์ปยูขึ้นครองราชย์ และใช้สืบต่อมาจนถึงอาณาจักรพุกามAung-Thwin 2005: 35 เมื่อสมัยอาณาจักรอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมาจึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน การคำนวณปี..

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และจุลศักราช · ดูเพิ่มเติม »

จดหมายเหตุ

หอจดหมายเหตุ (archive) หมายถึงบันทึก หรือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยผู้บันทึกอาจเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลทั่วไปก็ได้ เพื่อบันทึกไว้สำหรับใช้อ้างอิงในอนาคต ตั้งแต่ครั้งอดีต พระมหากษัตริย์ไทย โปรดเกล้าฯให้มีธรรมเนียมการจดบันทึกเหตุการณ์สำคัญของบ้านเมือง วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จดบันทึกดังกล่าวเรียกว่าอาลักษณ์ จดหมายเหตุนี้จะถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในหอจดหมายเหตุหรือหอหลวง เพื่อให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาต่อคนรุ่นหลัง จดหมายเหตุในราชวงศ์นี้ บางทีก็เรียกพระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า และพระราชพงศาวดารเหนือในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จดหมายเหตุที่บันทึกโดยบุคคลในอดีตก็มีความสำคัญไม่น้อย มีทั้งการบันทึกเหตุการณ์ทั่วไป การบันทึกเรื่องราวของตนเองอย่างลักษณะไดอารี่ ฯลฯ บางฉบับมีคุณค่าต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างมาก เช่น จดหมายเหตุบางกอก (อังกฤษ: Bangkok Recorder) ของหมอบรัดเลย์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ (ฝรั่งเศส: Du Royaume de Siam) เขียนโดยมองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จดหมายเหตุเสด็จประพาสยุโรป ร.ศ.116 ของพระยาศรีสหเทพ (เส็ง) จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี จดหมายเหตุจีนว่าด้วยกรุงสยาม เป็นต้น จดหมายเหตุในอดีตพบว่ามีการบันทึก โดยการเขียน การพิมพ์ ลงบนวัสดุต่างๆตามยุคสมัย เช่น แผ่นหิน ใบลาน กระดาษ เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และจดหมายเหตุ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเลี่ยงเมือง

นนเลี่ยงเมือง (อังกฤษ: Bypass Road) เป็นถนนหรือกลุ่มถนนที่มีลักษณะอ้อมออกนอกเมือง นคร หรือประเทศ สร้างขึ้นเพื่อลดปัญหาความคับคั่งของการจราจรช่วงผ่านตัวเมือง โดยเป็นลักษณะถนนอ้อมเมืองที่ผู้ขับขี่สามารถขับรถผ่านตัวเมืองได้โดยไม่ต้องเข้าเมือง โดยลักษณะการวางแนวเส้นทางจะเหมือนถนนวงแหวน แต่ถนนเลี่ยงเมืองจะอ้อมไปทางด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และถนนเลี่ยงเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ข้าว

้าว ข้าว เป็นเมล็ดของพืชในสกุลข้าวที่พบมากในเอเชีย ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งประชากรโลกบริโภคเป็นอาหารสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในทวีปเอเชีย จากข้อมูลเมื่อปี 2553 ข้าวเป็นธัญพืชซึ่งมีการปลูกมากที่สุดเป็นอันดับสามทั่วโลก รองจากข้าวสาลีและข้าวโพด ข้าวเป็นธัญพืชสำคัญที่สุดในด้านโภชนาการและการได้รับแคลอรีของมนุษย์ เพราะข้าวโพดส่วนใหญ่ปลูกเพื่อจุดประสงค์อื่น มิใช่ให้มนุษย์บริโภค ทั้งนี้ ข้าวคิดเป็นพลังงานกว่าหนึ่งในห้าที่มนุษย์ทั่วโลกบริโภค หลักฐานพันธุศาสตร์แสดงว่าข้าวมาจากการนำมาปลูกเมื่อราว 8,200–13,500 ปีก่อน ในภูมิภาคหุบแม่น้ำจูเจียงของจีน ก่อนหน้านี้ หลักฐานโบราณคดีเสนอว่า ข้าวมีการนำมาปลูกในเขตหุบแม่น้ำแยงซีในจีน ข้าวแพร่กระจายจากเอเชียตะวันออกไปยังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ ข้าวถูกนำมายังทวีปยุโรปผ่านเอเชียตะวันตก และทวีปอเมริกาผ่านการยึดอาณานิคมของยุโรป ปกติการปลูกข้าวเป็นแบบปีต่อปี ทว่าในเขตร้อน ข้าวสามารถมีชีวิตอยู่ได้หลายปีและสามารถไว้ตอ (ratoon) ได้นานถึง 30 ปี ต้นข้าวสามารถโตได้ถึง 1–1.8 เมตร ขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดินเป็นหลัก มีใบเรียว ยาว 50–100 เซนติเมตร และกว้าง 2–2.5 เซนติเมตร ช่อดอกห้อยยาว 30-50 เซนติเมตร เมล็ดกินได้เป็นผลธัญพืชยาว 5–12 มิลลิเมตร และหนา 2–-3 มิลลิเมตร การเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าวเหมาะกับประเทศและภูมิภาคที่ค่าแรงต่ำและฝนตกมาก เนื่องจากมันใช้แรงงานมากที่จะเตรียมดินและต้องการน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ข้าวสามารถโตได้เกือบทุกที่ แม้บนเนินชันหรือเขตภูเขาที่ใช้ระบบควบคุมน้ำแบบขั้นบันได แม้ว่าสปีชีส์บุพการีของมันเป็นสิ่งพื้นเมืองของเอเชียและส่วนที่แน่นอนของแอฟริกา ร้อยปีของการค้าขายและการส่งออกทำให้มันสามัญในหลายวัฒนธรรมทั่วโลก วิธีแบบดั้งเดิมสำหรับเตรียมดินสำหรับข้าวคือทำให้น้ำท่วมแปลงชั่วขณะหนึ่งหรือหลังจากการตั้งของต้นกล้าอายุน้อย วิธีเรียบง่ายนี้ต้องการการวางแผนที่แข็งแรงและการให้บริการของเขื่อนและร่องน้ำ แต่ลดพัฒนาการของเมล็ดที่ไม่ค่อยแข็งแรงและวัชพืชที่ไม่มีภาวะเติบโตขณะจมน้ำ และยับยั้งศัตรูพืช ขณะที่การทำให้น้ำท่วมไม่จำเป็นสำหรับการเตรียมดินสำหรับเพาะปลูกข้าว วิธีทั้งหมดในการการชลประทานต้องการความพยายามสูงกว่าในการควบคุมวัชพืชและศัตรูพืชระหว่างช่วงเวลาการเจริญเติบโตและวิธีที่แตกต่างสำหรับใส่ปุ๋ยลงดิน.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และข้าว · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านหลุม

ตำบลบ้านหลุม เป็นตำบลหนึ่งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ที่เป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำยมไหลผ่าน เป็นแหล่งผลิตข้าว และปลาแก่ชุมชนและบริเวณใกล้เคียง มีศาสนสถานที่สำคัญ เช่น วัดศรีมหาโพธิ์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และตำบลบ้านหลุม · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลตาลเตี้ย

ตำบลตาลเตี้ย เป็นตำบลหนึ่งในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ที่ในอดีตเคยเป็นส่วนหนึ่งของตำบลบ้านสวน อันเป็นที่ตั้งของชุมชนเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งนับแต่ครั้งกรุงสุโขทัย โดยมีโบราณสถานวัดร้างเป็นสำคัญ อาทิ วัดเรืองยศ วัดขุนช้าง เป็นต้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และตำบลตาลเตี้ย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล ไรท์

มเคิล ไรท์ บางครั้งสะกดว่า ไมเคิล ไรท (Michael Wright; 12 เมษายน พ.ศ. 2483 — 7 มกราคม พ.ศ. 2552) หรือ เมฆ มณีวาจา เป็นนักเขียน นักคิด นักวิจารณ์ทางด้านประวัติศาสตร์ สังคม และไทยคดีศึกษ.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และไมเคิล ไรท์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวง

มืองหลวง หรือ ราชธานี คือ เมืองหลักที่เกี่ยวข้องกับรัฐบาล ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล คำในภาษาอังกฤษ capital มาจากภาษาละติน caput หมายถึง "หัว" และอาจเกี่ยวข้อง เนินเขาแคปิทอไลน์ เนินเขาที่สูงที่สุดในโรมโบราณ ศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และศาสนา ในภาษาไทย มีหลายคำที่ใช้ในความหมายนี้ เช่น กรุง หรือ พระนคร สำหรับคำว่าเมืองหลวงนั้นยังก็มีความหมายเป็นสองนัย กล่าวคือ หมายถึงเมืองใหญ่ (หลวง หมายถึง ใหญ่) หรือเมืองของหลวง (คือเมืองของพระเจ้าแผ่นดิน, เพราะเป็นที่ประทับของกษัตริย์) เมืองหลวงในบางประเทศ มีขนาดเล็กกว่าเมืองอื่น เช่นใน สหรัฐอเมริกา อินเดีย บราซิล สำหรับคำว่าเมืองหลวงนี้ อาจเป็นเมืองหลวงของรัฐ (ในประเทศที่ปกครองแบบสาธารณรัฐ เป็นต้น) หรือเมืองหลวงของเขตการปกครองระดับใดๆ ก็ได้ เช่น อำเภอเมือง เปรียบเหมือนเป็นเมืองหลวงของจังหวั.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

20 มีนาคม

วันที่ 20 มีนาคม เป็นวันที่ 79 ของปี (วันที่ 80 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 286 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และ20 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)และ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »