โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

กฎหมายตราสามดวง

ดัชนี กฎหมายตราสามดวง

กฎหมายตราสามดวง ตราประจำตำแหน่ง 3 ดวงที่ประทับในกฎหมายตราสามดวง กฎหมายตราสามดวง คือ ประมวลกฎหมายในรัชกาลที่ 1 เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชำระกฎหมายเก่าที่มีมาแต่ครั้งโบราณ แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้นเมื่อจุลศักราช 1166 ตรงกับ พ.ศ. 2347 โปรดให้เรียกว่า “กฎหมายตราสามดวง” ให้อาลักษณ์ชุบเส้นหมึกสามชุด แต่ละชุดประทับตรา 3 ดวง คือ ตราพระราชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหนายก) 1 ตราพระคชสีห์ (สำหรับตำแหน่งสมุหพระกลาโหม) 1 และตราบัวแก้ว (สำหรับตำแหน่งโกษาธิบดี หมายถึงพระคลัง ซึ่งดูแลรวมทั้งกิจการด้านต่างประเทศ) ไว้ทุกเล่มเก็บไว้ ณ ห้องเครื่องชุดหนึ่ง หอหลวงชุดหนึ่ง และศาลหลวงอีกชุดหนึ่ง กฎหมายตราสามดวงนี้ ได้ใช้อาลักษณ์หลายท่านเขียนขึ้น โดยแยกเป็น “ฉบับหลวง” และ “ฉบับรองทรง” โดยสันนิษฐานว่า สำหรับฉบับหลวง ชุดหนึ่งเป็นสมุดไทย 41 เล่ม เมื่อรวม 3 ชุด จึงมีทั้งสิ้น 123 เล่ม แต่เท่าที่พบ ในปัจจุบันเหลืออยู่เพียง 79 เล่ม โดยเก็บไว้ที่กระทรวงยุติธรรม 37 เล่ม และที่หอสมุดแห่งชาติ 41 เล่ม ส่วนอีก 44 เล่ม ไม่ทราบว่าขาดหายไปด้วยประการใด ส่วน ฉบับรองทรง นั้น ก็คือ กฎหมายตราสามดวงที่อาลักษณ์ชุดเดียวกับที่เขียนฉบับหลวง ได้เขียนขึ้น โดยเขียนในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยฉบับหลวง เขียนในปีฉลู..1167 (พ.ศ. 2348) ส่วนฉบับรองทรงเขียนขึ้นในปี..

25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2347พ.ศ. 2348พ.ศ. 2444พ.ศ. 2481พ.ศ. 2505พ.ศ. 2515พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระมหากษัตริย์พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)พระไตรปิฎกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศาลสำนักหอสมุดแห่งชาติสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสถาบันปรีดี พนมยงค์อาณาจักรอยุธยาจารีตและวิถีประชาประมวลกฎหมายประเพณีแดน บีช บรัดเลย์โรแบร์ แลงกาต์

พ.ศ. 2347

ทธศักราช 2347 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1804 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพ.ศ. 2347 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2348

ทธศักราช 2348 ตรงกับคริสต์ศักราช 1805 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพ.ศ. 2348 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2515

ทธศักราช 2515 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1972 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพ.ศ. 2515 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น. (สี่ทุ่มครึ่ง) ตรงกับวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัติเมื่อวันอาทิตย์ เดือน 9 ขึ้น 7 ค่ำ ปีวอก ซึ่งตรงกับวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิริดำรงราชสมบัติได้ 27 ปี ทรงมีเจ้าจอมมารดาและเจ้าจอม 56 ท่าน มีพระราชโอรสธิดาทั้งสิ้น 51 พระองค์ เสด็จสวรรคตเมื่อวันพุธ เดือน 5 ขึ้น 1 ค่ำ ปีกุน โทศก จุลศักราช 1212 เวลา 7 ทุ่ม 5 บาท ตรงกับวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 สิริพระชนมายุ 64 พรรษ.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระมหากษัตริย์

กษัตริย์ หรือ พระมหากษัตริย์ คือประมุขหรือผู้ปกครองสูงสุดของรัฐ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือในราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ปัจจุบันพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีน้อยมากซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศขนาดเล็ก พระมหากษัตริย์เป็นได้ด้วยการสืบสันตติวงศ์หรือโดยการยึดอำนาจจากพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมแล้วปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์จะสืบทอดต่อกันมาโดยเชื้อพระวงศ์ เรียกว่าพระราชวงศ์ เมื่อสิ้นสุดการสืบทอดโดยเชื้อพระวงศ์ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง พระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่จะเป็นตันพระราชวงศ์ใหม่ หรือเป็นผู้สถาปนาพระราชวงศ์ พระมหากษัตริย์อาจมีคำเรียกแตกต่างกัน เช่น พระราชาธิบดี พระจักรพรรดิ พระราชา เจ้ามหาชีวิต เป็นต้น กษัตริย์ ในสังคมฮินดู ยังหมายถึงวรรณะที่ 2 จาก 4 วรรณะ คือวรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระมหากษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล)

ระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตกุล) (พ.ศ. 2362 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2439) เป็นขุนนางในสมัยรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 ที่มีความรู้ในเชิงช่าง สามารถซ่อมเครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้า มีความสามารถในวิชาช่างชุบโลหะ สามารถประดิษฐ์สร้างเครื่องกลึง พระยากระสาปนกิจโกศล เดิมชื่อ โหมด เกิดเมื่อวันอังคาร แรม 8 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ตรงกั..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระไตรปิฎก

ระไตรปิฎก (Tipiṭaka; त्रिपिटक) เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคำสอนของพระโคตมพุทธเจ้า ไตรปิฎก แปลว่า ตะกร้า 3 ใบ เพราะเนื้อหาแบ่งเป็น 3 หมวดใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระไตรปิฎก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ (21 ตุลาคม พ.ศ. 2417 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ทรงเป็นต้นราชสกุลรพีพัฒน์ เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 14 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นผู้วางรากฐานด้านกฎหมายในเมืองไทย จนได้รับพระสมัญญานามว่าพระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทางด้านชีวิตส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงอรพัทธ์ประไพ พระธิดาองค์ใหญ่ใน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ แต่ทรงมีชีวิตร่วมกันเพียงไม่นานก็หย่าขาดจากกันหลังจากนั้นทรงรับหม่อมอ่อนเป็นชายา หลังจากนั้นทรงมีหม่อมอีก 2 พระองค์ คือ หม่อมแดงและหม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช สิ้นพระชนม์ ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)

กระทรวงยุติธรรม (Ministry of Justice) เป็นกระทรวงหนึ่งในประเทศไทยก่อตั้งเมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 เดิมใช้ชื่อว่ากระทรวงยุตติธรรมและมีการเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงยุติธรรมในวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและกระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาล

ล เป็นองค์กรสาธารณะที่มีหน้าที่ในการวินิจฉัยข้อพิพาทเกี่ยวกับพลเมือง แรงงาน กิจการ และอาชญากรรมภายใต้กฎหมาย ในกฎหมายทั่วไปและกฎหมายพลเมือง ศาลนับว่าเป็นทางออกของข้อพิพาทต่างๆ เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ทุกๆ คนมีสิทธิ์ที่จะนำข้อกล่าวหามาใช้ในศาลได้ ในขณะเดียวกัน ผู้ถูกกล่าวหาก็มีสิทธิ์ที่จะแก้ต่างในศาลได้เช่นกัน.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและศาล · ดูเพิ่มเติม »

สำนักหอสมุดแห่งชาติ

ำนักหอสมุดแห่งชาติ (ตัวย่อ: หสช.) ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและสำนักหอสมุดแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันปรีดี พนมยงค์

ันปรีดี พนมยงค์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ เป็นสถาบันไม่แสวงหากำไรที่มีจุดประสงค์ดำเนินกิจกรรมอันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและราษฎรไทย ตามอุดมการณ์ของนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและผู้นำคณะราษฎรในการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 สถาบันก่อตั้งโดยมูลนิธิปรีดี พนมยงค์เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ปรีดี และเปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2538 จุดประสงค์ในการดำเนินงานของสถาบันคือ ส่งเสริมงานด้านวิชาการซึ่งเชื่อมโยงกับแนวความคิด อุดมการณ์สันติธรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เพื่อให้ประสานสัมพันธ์กับคนรุ่นใหม่ และสภาพปัญหาสังคมปัจจุบัน เป็นเวทีทางด้านศิลปวัฒนธรรมทุกแขนง เพื่อเป็นสื่อให้ความดีและสัจจะทางสังคม ได้แสดงออกสู่สาธารณะอย่างงดงามมีสุนทรียภาพ และประสานงานและร่วมมือกับองค์กรพันธมิตรอื่น ๆ ในเรื่องการวิจัย สัมมนา อบรม และกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ ตั้งอยู่ที่ ซอยทองหล่อ (สุขุมวิท 55) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 371 ตารางวา ซึ่งมูลนิธิไชยวนามอบให้.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและสถาบันปรีดี พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จารีตและวิถีประชา

หนังสือสำหรับเด็กในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เขียนไว้ว่าชาวดัตช์เป็นเชื้อชาติที่ขยันขันแข็ง และชาวจีนเป็นเชื้อชาติที่เคารพเชื่อฟังญาติผู้อาวุโสอย่างสูง ในทางสังคมวิทยา จารีต (mores) และ วิถีประชา (folkways) เป็นบรรทัดฐานอย่างไม่เป็นทางการของสังคม.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและจารีตและวิถีประชา · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมาย

ประมวลกฎหมาย คือ กฎหมายซึ่งรวมบทกฎหมายต่าง ๆ ในเรื่องเดียวกันเข้าไว้ด้วยกัน และได้จัดให้มีการบัญญัติอย่างเป็นระบบ มีการจัดสรรให้เป็นหมวดหมู่อย่างเรียบร้อย และมีข้อความท้าวถึงซึ่งกันและกัน โดยประมวลกฎหมายมีลำดับศักดิ์ของกฎหมายเท่ากับพระราชบัญญัติเนื่องจากเป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ประมวลกฎหมายฉบับแรกของประแทศไทย ก็คือ กฎหมายลักษณะอาญา ร..

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและประมวลกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

ประเพณี

ประเพณี (Tradition) เป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์และมีความสำคัญต่อสังคม เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ อันเป็นบ่อเกิดของวัฒนธรรมของสังคมเชื้อชาติต่างๆ กลายเป็นประเพณีประจำชาติและถ่ายทอดกันมาโดยลำดับ หากประเพณีนั้นดีอยู่แล้วก็รักษาไว้เป็นวัฒนธรรมประจำชาติ หากไม่ดีก็แก้ไขเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเท.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและประเพณี · ดูเพิ่มเติม »

แดน บีช บรัดเลย์

หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์ แพทยศาสตรบัณฑิต (Dan Beach Bradley) หรือบางคนเขียนเป็น หมอบรัดเล หมอปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์ เป็นนายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการพิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทำการผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและแดน บีช บรัดเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ แลงกาต์

รแบร์ แลงกาต์ (Robert Lingat รอแบร์ แล็งกา) หรือ ร. แลงกาต์ (เกิด:พ.ศ. 2435; ตาย: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นศาสตราจารย์ทางนิติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการกฎหมายไทยในอดีตอย่างยิ่ง โรแบร์ แลงการ์ต ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ. 2435 ณ เมืองชาร์เลอวีล-เมซีแยร์ แคว้นอาร์แดน ประเทศฝรั่งเศส ชีวิตส่วนตัวของเขาไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ในด้านการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2462 เขาได้ศึกษาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต จนได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันภาษาตะวันออกแห่งกรุงปารีส ต่อมาได้ศึกษากฎหมายเอกชนจนได้รับปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตในกรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2474 มีผลงานเป็นวิทยานิพนธ์เรื่อง "เลสกลาวาชปรีเวดองเลอวีเยอดรัวซียามัว" (L'esclavage privé dans le vieux droit siamois, "ระบบทาสเอกชนในกฎหมายเก่าของสยาม") ในด้านการทำงาน ระหว่าง พ.ศ. 2461 ถึง พ.ศ. 2462 เขาเป็นล่ามให้กองทัพไทยในฝรั่งเศส ครั้น พ.ศ. 2467 ถึง พ.ศ. 2483 จึงย้ายมาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครโดยเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และอาจารย์วิชานิติศาสตร์ของหลายมหาวิทยาลัยในเอเชีย รวมถึงระดับปริญญาตรีและปริญญาโทของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขาดำเนินการสอนเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยมีล่ามถ่ายทอดเป็นภาษาไทยอีกที ณ ที่นั้น เขายังได้เป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม และได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายอินเดียที่กำลังเจริญเติบโต เขาปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยกระทั่ง พ.ศ. 2498 จึงสิ้นสุดงานการสอนของเขาและจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศกัมพูชากลับไปบ้านเกิดเมืองนอนของเขา ก่อนเขาจะถึงแก่กรรม เขาได้ทำการสอนที่ศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยปารีส กระทั่งจากโลกไปเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 หนึ่งปีก่อนที่ผลงานของเขาจะได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษและนำชื่อของเขาเข้าสู่โลกระดับสากล โรแบร์ แลงกาต์ มีชีวิตอยู่ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: กฎหมายตราสามดวงและโรแบร์ แลงกาต์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ตราสามดวง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »