โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ดีบรึคเคอ

ดัชนี ดีบรึคเคอ

ีบรึคเคอ (Die Brücke) คือกลุ่มศิลปินในกระแสเยอรมันเอกซ์เพรสชั่นนิสม์ ก่อตั้งที่เมืองเดรสเดิน ดีบรึคเคอเป็นการรวมตัวกันของนักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่สนใจและกระตือรือร้นในศิลปะ พวกเขาศึกษาการวาดภาพเปลือย ซึ่งเป็นพื้นฐานของศิลปกรรมประเภทวิจิตรศิลป์แบบเรียบง่ายและเป็นธรรมชาติในการทำงาน พวกเขามีแรงบันดาลใจจากชีวิตและประสบการณ์ของพวกเขาเอง ศิลปินแต่ละคนแสดงความคิดของเขาในการว.

12 ความสัมพันธ์: มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเดรสเดินมักซ์ เพชชไตน์ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมันลัทธิประทับใจออทโท มึลเลอร์คาร์ล ชมิดท์-รอทท์ลุฟฟ์แอนสท์ ลุดวิจ เคียร์ชเนอร์เบอร์ลินเอมิล นอลเดอเอริช เฮคเคลเดรสเดินเค็มนิทซ์

มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเดรสเดิน

มหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเดรสเดิน (Technische Universität Dresden; ตัวย่อ TU Dresden หรือ TUD) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเมืองเดรสเดิน ใหญ่ที่สุดซัคเซิน และหนึ่งในสิบมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเยอรมนี มีจำนวนนักศึกษา 36,066 คน (ในปี 2010) ชื่อ Technische Universität Dresden นี้ถูกใช้ตั้งแต่ปี 1961 แต่ตัวมหาวิทยาลัยนั้นมีประวัติย้อนไปถึงปี 1828 เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศเยอรมนี เทอูเดรสเดินเป็นสมาชิกของกลุ่มมหาวิทยาลัยเทคนิค TU9.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและมหาวิทยาลัยเทคนิคแห่งเดรสเดิน · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ เพชชไตน์

มักซ์ เพชชไตน์ (Max Pechstein; ธันวาคม 31, 1881 – มิถุนายน 29, 1955) เป็นศิลปินในรูปแบบของเยอรมัน เอ็กซเพรสชันนิสม์ (German Expressionism), และเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่ม เดอะ บริดจ์ (The Bridge).

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและมักซ์ เพชชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน

ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน (German Expressionism) เป็นแขนงของลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ซึ่งเกิดขึ้นที่กรุงเบอร์ลิน โดยนายหน้าค้างานศิลปะที่ชื่อว่า Paul Cassirer มีกระแสการทำงานศิลปะที่ต้องการเน้นย้ำให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างลัทธิสำแดงพลังอารมณ์และลัทธิประทับใจ ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ เป็นศิลปะที่มีความสำคัญและมีอำนาจจูงใจอย่างมากมายเกินคาด แพร่กระจายไปยังวรรณกรรม ละคร งานออกแบบ การเต้นรำ ภาพยนตร์รวมไปถึงงานสถาปัตยกรรม ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ ถูกจำกัดอยู่ในช่วงระยะเวลาสั้น ๆ จากช่วงเวลาทั้งหมดของพัฒนาการทางด้านศิลปะ ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ ถือเป็นคำพ้องความหมายของศิลปะสมัยใหม่โดยทั่วไป ในปัจจุบันเห็นได้ชัดว่า ศิลปินได้กลายเป็นประวัติศาสตร์ไปแล้ว และเราพบว่าเป็นเรื่องยากที่จะหาจุดเด่นของศิลปินแต่ละคนจากรูปแบบงานศิลปะที่หลากหลายทั้งหมดของพวกเขา แต่อย่างไรก็ตาม ยังคงมีศิลปินที่ได้รับการยกย่องให้เป็นต้นแบบของศิลปินลัทธิสำแดงพลังอารมณ์อยู่จำนวนมาก.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและลัทธิสำแดงพลังอารมณ์แบบเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิประทับใจ

''Avenue de l'Opéra'') โดยกามีย์ ปีซาโร ลัทธิประทับใจ หรือ อิมเพรสชันนิซึม (impressionism) เป็นขบวนการศิลปะที่เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเริ่มต้นจากการรวมตัวกันอย่างหลวม ๆ ของจิตรกรทั้งหลายที่มีนิวาสถานอยู่ในกรุงปารีส พวกเขาเริ่มจัดแสดงงานศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1860 ชื่อของขบวนการนี้มีที่มาจากภาพวาดของโกลด มอแน ที่มีชื่อว่า Impression, Sunrise ("Impression, soleil levant" ในภาษาฝรั่งเศส) และนักวิจารณ์ศิลปะนามว่าหลุยส์ เลอรัว (Louis Leroy) ก็ได้ให้กำเนิดคำคำนี้ขึ้นมาอย่างไม่ตั้งใจในบทวิจารณ์ศิลปะเชิงเสียดสีซึ่งตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์เลอชารีวารี (Le Charivari) อิทธิพลของลัทธิประทับใจยังแผ่ออกจากวงการศิลปะไปยังดนตรีและวรรณกรรม.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและลัทธิประทับใจ · ดูเพิ่มเติม »

ออทโท มึลเลอร์

อ็อตโต มึลเลอร์ (Otto Mueller) เกิดเมื่อวันที่16 ตุลาคม 1874 หลังจากที่เขาได้จบโรงเรียนชั้นประถมศึกษาจาก (Görlitz)เขาก็ได้ฝึกงานตั้งแต่ปี1890-1894 และหลังจากนั้นก็ศึกษาต่อที่Academic of Artที่เดรสเดิน(Dresden)จนกระทั่งปี1896 จากปี1898-1899เขาศึกษาที่Academic of Art ที่ มิวนิค(Munich) ศิลปินท่านนี้ได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากครอบครัวของ Gerhart Hauptmann เขาได้แต่งงานกับภรรยาของเขา และถัดมาในปี1908เขาได้ย้ายมาที่กรุงเบอร์ลิน(Berlin) เมื่องานของเขาได้ถูกปฏิเสธจากBerlin Secession เขาจึงก่อตั้งกลุ่มThe New Secessionขึ้นมา ท่ามกลางเหล่าสมาชิกที่เคยเป็นสมาชิกของกลุ่ม เดอะ บริดจ์(The Bridge)ซึ่งเป็นกลุ่มที่เขาก็เคยร่วมเป็นสมาชิกอยู่ด้วย ในปี1916เขาถูกเรียกให้ไปรับใช้ราชการทหารเมื่อสงครามสิ้นสุดลง เขาก็ได้กลับสู่กรุงเบอร์ลิน ที่ซึ่งงานแสดงของเขาถูกจัดแสดงอยู่ที่ Paul Cassier’s Gallery และในปี1919เขาได้ถูกเชิญให้ไปสอนที่ Breslau Academic of Art ระหว่างปี1924และ1930เขาได้เดินทางไปฮังการี,โรมาเนียและบัลกาเรียเพื่อศึกษาวัฒนธรรมของพวกยิปซี จนกระทั่งเขาได้เสียชีวิตในที่สุดในวันที่24 กันยายน 1930 ที่ Breslau.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและออทโท มึลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล ชมิดท์-รอทท์ลุฟฟ์

ร์ล ชมิดท์-รอทท์ลุฟฟ์ (Karl Schmidt-Rottluff) เกิดวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1884 เป็นลูกชายเจ้าของโรงโม่ เขาศึกษาที่โรงเรียนประถมประจำท้องถิ่นจนกระทั่งปี..

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและคาร์ล ชมิดท์-รอทท์ลุฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนสท์ ลุดวิจ เคียร์ชเนอร์

แอนสท์ ลุดวิจ เคียร์ชเนอร์ (Ernst Ludwig Kirchner; ค.ศ. 1880–1938 หรือ พ.ศ. 2423 - 2481) เป็นจิตรกรและช่างพิมพ์ชาวเยอรมัน เกิดวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและแอนสท์ ลุดวิจ เคียร์ชเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล นอลเดอ

อมิล นอลเดอ (Emil Nolde) หรือในชื่อเดิมคือ เอมิล แฮนสัน (Emil Hanson) เกิดเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและเอมิล นอลเดอ · ดูเพิ่มเติม »

เอริช เฮคเคล

อริค เฮ็คเคิล (Erich Heckel; 31 กรกฎาคม ค.ศ.1883 – 27 มกราคม ค.ศ. 1970) เกิดวันที่ 31 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและเอริช เฮคเคล · ดูเพิ่มเติม »

เดรสเดิน

รสเดิน (Dresden)) มาจากภาษาซอร์เบียโบราณว่า Drežďany แปลว่าชนเผ่าแห่งป่าริมแม่น้ำ ทั้งนี้เมืองเดรสเดินตั้งอยู่บนริมฝั่งแม่น้ำเอลเบอ เป็นเมืองหลวงของรัฐซัคเซิน แต่เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัฐรองจากไลพ์ซิจ นอกจากนี้ บริเวณเมืองเก่าย่านใจกลางเมืองเดรสเดินยังได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกด้านวัฒนธรรมอีกด้ว.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและเดรสเดิน · ดูเพิ่มเติม »

เค็มนิทซ์

็มนิทซ์ (Chemnitz) (ระหว่าง ค.ศ. 1953-1990 ใช้ชื่อว่า "เมืองคาร์ลมากซ์" Karl-Marx-Stadt) เป็นเมืองใหญ่อันดับสามในรัฐแซกโซนี รองจากไลพ์ซิชและเดรสเดิน ชื่อเมืองตั้งตามแม่น้ำที่ไหลผ่านเมือง คำว่า เค็มนิทซ์ เป็นภาษาซอร์เบีย (Sorbian) แปลว่า ลำธารที่เต็มไปด้วยก้อนหิน.

ใหม่!!: ดีบรึคเคอและเค็มนิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Die Brückeเดอะ บริดจ์เดอะบริดจ์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »