สารบัญ
12 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2331มินูเอ็ตลุดวิจ ฟาน เบโทเฟนซิมโฟนีซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)แฟรงก์เฟิร์ตโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทไลพ์ซิชเวียนนาเดรสเดินOgg25 กรกฎาคม
พ.ศ. 2331
ทธศักราช 2331 ใกล้เคียงกั.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และพ.ศ. 2331
มินูเอ็ต
การเต้นรำมินูเอ็ตในยุคเรอเนซองส์ โดยมีหลักฐานที่ชัดเจน มินูเอ็ต (อังกฤษ: minuet) หรือ เมนูเอ็ต (ฝรั่งเศส: menuet)คำว่า มินูเอ็ต มาจากคำว่า Menu ภาษาละติน Munutus ซึ่งแปลว่า "เล็ก ๆ" เพราะมินูเอ็ตเป็นเพลงขนาดเล็กเล่นตามราชสำนัก มีอัตราจังหวะ 3/4 คล้ายเพลงวอลซ์ ฌอง แบปติสท์ ลุลลี ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มนำเพลงจังหวะมินูเอ็ตมาใช้ แล้วมินูเอ็ตก็ได้รับความนิยมในหมู่ขุนนาง การเต้นรำมินูเอ็ตนั้น จะให้นักเต้นรำเลือกคู่ แล้วก็เต้นรำกันไปตามจังหวะของเพลง แล้วจากนั้น โยฮันน์ เซบาสเตียน บาคและจอร์จ เฟรดริก ฮันเดลได้ยืมความคิดแล้วมาแต่งในฉบับของตัวเอง เพลงมินูเอ็ตก็จะเป็นแบบยุคบาโรค โดยมีอัตราจังหวะ 3/8 หรือ 6/8 เพลงมินูเอ็ตจะเป็นเพลงประกอบตอนท้าย ๆ ของเพลงโอเวอเจอร์ของอิตาลีด้วย ผลงานมินูเอ็ตของบาค ปรากฏอยู่ใน Orchestral Suite โดยบางบทจะมีเพลงเต้นรำมินูเอ็ตรวมอยู่ด้วย มินูเอ็ตได้รับความนิยมจนถึงยุคคลาสสิกได้มีการปฏิวัติทางดนตรีอย่างมาก ได้มีแนวคิดใหม่ ๆ โดยการใช้มินูเอ็ตเป็นท่อนที่ 3 ในซิมโฟนี โดย โยเซฟ ไฮเดิน ได้วางรากฐานของดนตรีประเภทคอนแชร์โต้ ซิมโฟนีและโซนาต้า โดยให้ท่อนที่ 3 ใช้ทำนองเพลงแบบมินูเอ็ต โมซาร์ทก็ได้นำความคิดของไฮเดินมาใช้เหมือนกัน แต่ต่อมาในยุคของ เบโธเฟ่นที่กำลังจะเข้าสู่ยุคโรแมนติก เบโธเฟ่นได้เปลี่ยนแปลงให้ท่อนที่ 3 จากลักษณะมินูเอ็ตเป็นรอนโด้หรือสแกร์โซแทน หลังจากนั้นมาความคิดของเบโธเฟ่นก็เป็นที่นิยม มินูเอ็ตที่มีชื่อเสียง คือ Menuet BWV 113-116 ของบาค มินูเอ็ตของลุยจิ บอคเคอรินี่(Luigi Boccherini) และบางช่วงในอุปรากรเรื่องดอน โจวานนี ของโมซาร์ท หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ดนตรี หมวดหมู่:การเต้นรำ.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และมินูเอ็ต
ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน
ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน (Ludwig van Beethoven,; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1770 - 26 มีนาคม ค.ศ. 1827) เป็นคีตกวีและนักเปียโนชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองบอนน์ ประเทศเยอรมนี เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศิลปินยุคจินตนิยมผู้โดดเดี่ยว และไม่เป็นที่เข้าใจของบุคคลในยุคเดียวกันกับเขา ในวันนี้เขาได้กลายเป็นคีตกวีที่มีคนชื่นชมยกย่องและฟังเพลงของเขากันอย่างกว้างขวางมากที่สุดคนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขามีอุปสรรคนานัปการที่ต้องฝ่าฟัน ทำให้เกิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรูปภาพต่าง ๆ ที่เป็นรูปเบโทเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพแสดงออกถึงความเครียด แต่ด้วยจิตใจที่แข็งแกร่งของเขา ก็สามารถเอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิตของเขาได้ ตำนานที่คงอยู่นิรันดร์เนื่องจากได้รับการยกย่องจากคีตกวีโรแมนติกทั้งหลาย เบโทเฟนได้กลายเป็นแบบอย่างของพวกเขาเหล่านั้นด้วยความเป็นอัจฉริยะที่ไม่มีใครเทียมทาน ซิมโฟนีของเขา (โดยเฉพาะอย่างยิ่งซิมโฟนีหมายเลข 5 ซิมโฟนีหมายเลข 6 ซิมโฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตสำหรับเปียโนที่เขาประพันธ์ขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่งคอนแชร์โตหมายเลข 4 และ หมายเลข 5) เป็นผลงานที่ได้รับความนิยมมากที่สุด แต่ก็มิได้รวมเอาความเป็นอัจฉริยะทั้งหมดของคีตกวีไว้ในนั้น.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน
ซิมโฟนี
ซิมโฟนี (Symphony) เป็นดนตรีประเภทหนึ่ง เป็นดนตรีประกอบเพิ่มเติมในดนตรีคลาสสิกตะวันตก ซึ่งต้องบรรเลงเกือบตลอดเวลาสำหรับวงดนตรี ซิมโฟนีมักจะมีเครื่องดนตรีอย่างน้อยหนึ่งชนิดมาประกอบด้วยตามหลักการโซนาตา วงดนตรีที่บรรเลงดนตรีแบบซิมโฟนีนั้นเรียกว่า วงซิมโฟนี ออร์เคสตรา ซึ่งในวงจะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีครบทั้งสี่ชนิด ตัวอย่างเพลงซิมโฟนี หมวดหมู่:ดนตรีคลาสสิก.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และซิมโฟนี
ซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)
ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟิน ซิมโฟนีหมายเลข 5 ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์ (Symphony No. 5 in C Minor) ของเบโทเฟิน เป็นผลงานที่เขาประพันธ์ขึ้นในช่วง ค.ศ.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และซิมโฟนีหมายเลข 5 (เบโทเฟน)
แฟรงก์เฟิร์ต
แฟรงก์เฟิร์ต (Frankfurt) หรือ ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์ (Frankfurt am Main) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐเฮสส์และใหญ่เป็นอันดับ 5 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไมน์ (Main river) และเป็นที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์แฟรงก์เฟิร์ตและธนาคารกลางยุโรป แฟรงก์เฟิร์ตเป็นเมืองที่ร่ำรวยที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยในเขตเมืองและปริมณฑลมีประชากรประมาณ 5 ล้านคน ชื่อเมืองแฟรงก์เฟิร์ตในประเทศเยอรมนี นิยมเรียกชื่อเต็มคือ "ฟรังค์ฟวร์ทอัมไมน์" หมายถึงเมืองแฟรงก์เฟิร์ตที่อยู่บนแม่น้ำไมน์ เพื่อแยกความแตกต่างจากเมืองฟรังค์ฟวร์ทอันเดอร์โอเดอร์ (Frankfurt an der Oder) ริมฝั่งแม่น้ำโอเดอร์ในรัฐบรันเดนบูร์กทางด้านตะวันออกของประเท.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และแฟรงก์เฟิร์ต
โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท
วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท
ไลพ์ซิช
ลพ์ซิช (Leipzig) เป็นเมืองสำคัญเมืองหนึ่งในรัฐซัคเซิน ในประเทศเยอรมนี มีประชากร 515,110 คน และเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในรัฐ และเป็นเมืองที่มีระบบการปกครองในรูปแบบเขตปกครองพิเศษ ชื่อ "ไลพ์ซิช" มาจากภาษาสลาฟว่า "ลิพสค์" (Lipsk) ซึ่ง แปลว่า ตั้งอยู่บนพื้นที่ ที่มีต้นไม้ดอกเหลือง นอกจากนี้ ไลพ์ซิชยังเป็นชื่อของเขตปกครองภายในรัฐซัคเซิน โดยในสหพันธรัฐแซกโซนีประกอบด้วย 3 เขตปกครอง (Landkreise) และ 3 เขตปกครองพิเศษ (Kreisfreie Städte) โดยเขตปกครองไลพ์ซิชเป็นเขตปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหพันธรัฐแซกโซนี เนื้อหาของบทความนี้กล่าวถึงเฉพาะเมืองไลพ์ซิชซึ่งเป็นเขตปกครองพิเศษเท่านั้น.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และไลพ์ซิช
เวียนนา
วียนนา (Vienna) หรือ วีน (Wien) เป็นเมืองหลวงของประเทศออสเตรีย และเป็นชื่อเขตการปกครองในออสเตรียด้วย เวียนนาเป็นเมืองใหญ่ที่สุดในออสเตรีย เป็นศูนย์กลางทั้งเศรษฐกิจและการปกครอง มีประชากรประมาณ 1.8 ล้านคน มีแม่น้ำดานูบไหลผ่าน เวียนนายังเป็นที่ตั้งของหน่วยงานในสหประชาชาติหลายแห่ง เช่น United Nations Industrial Development Organization (UNIDO) และองค์กรระดับนานาชาติหลายแห่ง เช่น โอเปก (OPEC).
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และเวียนนา
เดรสเดิน
รสเดิน (Dresden)) มาจากภาษาซอร์เบียโบราณว่า Drežďany แปลว่าชนเผ่าแห่งป่าริมแม่น้ำ ทั้งนี้เมืองเดรสเดินตั้งอยู่บนริมฝั่งแม่น้ำเอลเบอ เป็นเมืองหลวงของรัฐซัคเซิน แต่เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัฐรองจากไลพ์ซิจ นอกจากนี้ บริเวณเมืองเก่าย่านใจกลางเมืองเดรสเดินยังได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกด้านวัฒนธรรมอีกด้ว.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และเดรสเดิน
Ogg
ogg ("อ็อก") เป็นรูปแบบหีบห่อดิจิทัลแบบมาตรฐานเปิดสำหรับบรรจุสื่อผสม มันถูกออกแบบมาเพื่อประสิทธิภาพในการกระจายเสียง (สตรีมมิง) และการเปลี่ยนแปร รูปแบบ ogg ออกแบบโดยมูลนิธิ Xiph.Org และปลอดจากสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ คำว่า "ogg" ยังถูกใช้บ่อย ๆ เพื่อเรียกรูปแบบแฟ้มเสียง Ogg Vorbis ซึ่งเป็นเสียงที่ถูกเข้ารหัสแบบ Vorbis แล้วเก็บลงในหีบห่อ Ogg การเข้ารหัสอื่นที่เด่น ๆ ของ Xiph ที่มักถูกใส่ใน Ogg ก็คือ Theora ซึ่งเป็นการเข้ารหัสภาพเคลื่อนไหว (วิดีโอ), และ Speex ซึ่งเป็นการบีบอัดเสียงพูดของมนุษย์ MIME type ของ ogg คือ application/ogg.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และOgg
25 กรกฎาคม
วันที่ 25 กรกฎาคม เป็นวันที่ 206 ของปี (วันที่ 207 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 159 วันในปีนั้น.
ดู ซิมโฟนีหมายเลข 40 (โมซาร์ท)และ25 กรกฎาคม
หรือที่รู้จักกันในชื่อ Symphony No. 40 in G minor